ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
فعن أبي لبابة بن عبد المنذر رضي الله عنه قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم إن يوم الجمعة سيد الأيام وأعظمها عند الله وهو أعظم عند الله من يوم الأضحى ويوم الفطر فيه خمس خلال خلق الله فيه آدم وأهبط الله فيه آدم إلى الأرض وفيه توفى الله آدم وفيه ساعة لا يسأل الله فيها العبد شيئا إلا أعطاه ما لم يسأل حراما وفيه تقوم الساعة ما من ملك مقرب ولا سماء ولا أرض ولا رياح ولا جبال ولا بحر إلا وهن يشفقن من يوم الجمعة .
ความว่า “แท้จริงวันญุมุอะฮฺเป็นนายของบรรดาวันต่างๆ ณ ที่อัลลอฮฺ ยิ่งใหญ่กว่าวันอีดิ้ลอัฎฮาและอีดิ้ลฟิตรฺ ในวันศุกร์นี้มีห้าประการ คือ ในวันนั้นอัลลอฮฺทรงสร้างอาดัม และวันศุกร์อัลลอฮฺได้ให้อาดัมออกจากสวรรค์มายังโลกนี้ และวันศุกร์อัลลอฮฺได้ยึดวิญญาณของอาดัม และในวันศุกร์มีช่วงเวลาที่บ่าวของอัลลอฮฺจะขออะไรอัลลอฮฺก็จะให้(เว้นแต่สิ่งหะรอม) และในวันศุกร์นั้นกิยามะฮฺจะเกิดขึ้น ไม่มีมะลาอิกะฮฺท่านใดที่อยู่ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ ไม่มีชั้นฟ้าชั้นใด ไม่มีแผ่นดินที่ใด ไม่มีลมพายุชนิดใด ไม่มีภูเขาลูกหนึ่งลูกใด ไม่มีทะเลแห่งใด เว้นแต่สิ่งดังกล่าวจะหวาดกลัว(เกรงกลัว)ต่อวันศุกร์(เพราะเป็นวันที่จะเกิดวันกิยามะฮฺ)”
- ซุนนะฮฺในวันศุกร์ 1 : ความประเสริฐ
- ซุนนะฮฺในวันศุกร์ 2 : เวลาสำคัญและซุนนะฮฺของท่านนบี
- ซุนนะฮฺในวันศุกร์ 3 : ซุนนะฮฺ(แบบฉบับ)ของท่านนบี
- การกระทำที่ลบล้างความผิดในวันศุกร์
- อีดตรงกับวันศุกร์
- คุฏบะฮฺญุมุอะฮฺ (วันศุกร์)
- ซุนนะฮฺในวันศุกร์ 10 ประการ (ซาดุลมะอาด)
- ซาดุลมะอาด - แบบฉบับในวันศุกร์และการละหมาดญุมุอะฮฺ
ตอบปัญหา
ในบันทึกของอิมามนะซาอียฺและบัยหะกียฺ เชคอัลบานียฺว่าศ่อฮี้ฮฺ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
من قرأ سورة الكهف في يوم الجمعة سطع له نور من تحت قدمه إلى عنان السماء يضيء له يوم القيامة وغفر له ما بين الجمعتين
ความว่า “ใครที่อ่านซูเราะฮฺอัลกะหฟในวันศุกร์ จะมีแสงสว่าง(รัศมี)ปรากฏแก่เขาระหว่างสองศุกร์ (1) “เกิดแก่เขาตั้งแต่เท้าของเขาถึงท้องฟ้า (2) และจะได้รับความอภัยโทษระหว่างสองญุมุอะฮฺ”
(1) แสงสว่าง(รัศมี)เป็นอุปมา ถ้าเราอ่านซูเราะฮฺอัลกะหฟิอย่างเข้าใจความหมาย บทเรียนจากซูเราะฮฺนี้จะเป็นทางนำแก่เราซึ่งมีมากมาย เช่น เรื่องเกี่ยวกับมารยาท สวรรค์ นรก การคิดบัญชีวันกิยามะฮฺ อะมานะฮฺ การปกครอง มารยาทลูกศิษย์กับผู้รู้ เรื่องนบีมูซากับท่านคอฎิร
(2) สำนวนนี้จะให้ความหมายของ แสงสว่าง ว่าเป็นแสงในวันกิยามะฮฺ
- หะดีษที่ว่า การอ่านซูเราะฮฺกะฮฟฺจะมีรัศมีจากศุกร์หนึ่งยังอีกศุกร์หนึ่ง จำต้องอ่านให้จบทั้งซูเราะฮฺในครั้งเดียวหรือไม่
- การอ่านกะฮฟและอาบน้ำซุนนะฮฺวันศุกร์ สามารถทำได้เมื่อไหร่ ทำตั้งแต่ค่ำลงวันพฤหัสได้หรือไม่
- มีบางทัศนะบอกว่าการอ่านซูเราะตุลกะฮฟีทุกวันศุกร์เป็นฮะดิษฎออีฟ
- สตรีที่มีเหฎ ในวันศุกร์ฟังซูเราะฮฺกะฮฺฟ แทนการอ่าน จะได้ผลบุญเท่ากันหรือไม่
- 1044 อ่านยาซีนทุกวันศุกร์ให้คนตายได้หรือไม่
- หลังละหมาดวันศุกร์ อ่านสามกุ้ล 7 ครั้ง อัลลอฮฺจะยกโทษให้ถึงอีกศุกร์หนึ่ง จริงหรือไม่
- ผู้ที่พูดคุยขณะฟังคุตบะฮฺ เคยได้ยินว่าต้องละหมาดใหม่ เพราะละหมาดวันศุกรืได้สูญสิ้นไปแล้วเป็นความจริงหรือไม่
- ขณะที่คอเฏบกำลังคุฏบะฮฺ คอเฏบเสียน้ำละหมาดหรือเป็นลมหมดสติ คนที่ฟังคุฏบะฮฺอยู่ควรทำอย่างไร
- การละหมาดซุนนะฮฺในขณะอะซานหรือคุฏบะฮฺละหมาดวันศุกร์ เคยได้ยินว่าให้ละหมาดโดยไม่ต้องรอให้อะซานจบ มีหลักฐานอย่างไร
- ไปละหมาดวันศุกร์สาย คอฏีบคุฏบะฮฺแล้ว เราต้องละหมาดเคารพมัสญิดหรือไม่
- ละหมาดวันศุกร์ คอเฏบขึ้นคุฏบะฮฺแล้วขอดุอาอฺ เราจะรับดุอาอฺได้หรือไม่
- คนที่เสียชีวิตวันศุกร์มีอะไรพิเศษหรือไม่ อย่างไร
- 1034 การละหมาดซุนนะฮฺหลังละหมาดวันศุกร์
- หลังละหมาดวันศุกร์มีละหมาดซุนนะฮฺหรือไม่
- ละหมาดวันศุกร์มีละหมาดซุนนะฮฺหรือไม่ ก่อนหรือหลัง
- ถ้าไปละหมาดวันศุกร์ทันเพียง 1 ร็อกอะฮฺ จะละหมาดเพิ่มเพื่อชดใช้อย่างไร
- หากเราเดินทางไกลซึ่งตรงกับวันศุกร์เมื่อถึงเวลาละหมาดก็แวะกลางทางละหมาดที่มัสยิด อยากทราบว่าหลังจากละหมาดวันศุกร์เสร็จแล้วสามารถละหมาดรวมย่อได้หรือไม่
- ตามหลักการอิสลามแล้วได้ห้ามมิให้ออกเดินทางในวันศุกร์ถูกต้องใช่หรือไม่ หากเราออกเดินทางก่อนวันศุกร์แล้วเมือถึงเวลาละหมาดวันศุกร์เรายังอยู่ในระหว่างการเดินทาง จะมีวิธีปฏิบัติอย่างไรตามแนวทางของท่านนบี
- ลูกค้านัดเจอกันเวลาบ่ายสามที่ชลบุรีในวันศุกร์ กลัวว่าจะไปไม่ทันนัด เชคมีข้อแนะนำอย่างไร
- 1078 การละหมาดญุมุอะฮฺในสถาบันการศึกษา
- สถานที่แบบไหนจัดละหมาดวันศุกร์ได้ ชมรมมุสลิมได้หรือไม่ สถานที่ๆ ไม่มีการจัดละหมาดประจำได้หรือไม่
- ตามหลักฐานจากอัลกุรอ่านและซุนนะห์แล้ว ผู้ศรัทธาทั้งหลายวายิบต่อการละหมาดวันศุกร์หรือ เฉพาะเจาะจงที่ผู้ศรัทธาชายอย่างเดียว
- ผู้หญิงละหมาดวันศุกร์ได้หรือไม่
- การตัดเล็บในช่วงคืนวันพฤหัส(หรือค่ำวันศุกร์) ทำได้หรือไม่
- การละหมาดวันศุกร์ในเหตุการณ์น้ำท่วม จะละหมาดอย่างไร ไม่ละหมาดได้หรือไม่
- การบัญญัติเรื่องละมาดวันศุกร์ถูกบัญญัติครั้งแรกที่มักกะห์หรือมะดีนะห์
- ละหมาดเดิมของละหมาดวันศุกร์คือละหมาดวันศุกร์หรือละหมาดดุฮฺริ
- ความประเสริฐของวันศุกร์ -- อิสลามมาก่อนหรือหลัง
- วันอีดตรงกับวันศุกร์มีอะไรเป็นพิเศษหรือไม่ (ต้องละหมาดวันศุกร์มั้ย)