ซะกาต(การบริจาค)

ผู้มีสิทธิรับซะกาต : 6 อัลฆอริมีน - คนที่ประสบกับความเสียหาย ซึ่งมี 2 ประเภท
1- ความเสียหายที่เกิดกับตัวเอง (ร่างกายหรือทรัพย์สิน) - ผู็มีหนี้สิน
2- ความเสียหายที่เกิดกับคนอื่น - แบกหนี้แทนคนอื่น
หะดีษ : ไม่อนุญาตให้ขอซะกาต ยกเว้น 3 กรณี
ผู้มีสิทธิรับซะกาต
5 ไถ่ทาส (ปล่อยทาส) ปัจจุบันยังมีทาสไหม ?
7 ในหนทางของอัลลอฮฺ - فِي سَبِيلِ اللَّهِ
- รวมถึงทุกสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์ของสังคมมุสลิม และมีความชอบตามการสั่งสอนของอัลลอฮฺ เช่น คนยากจน การศึกษา
8 อิบนุสสะบีล
- เป้าหมายของการศึกษาเรื่องซะกาต การศึกษาเรื่องซะกาต มีประโยชน์ต่อบุคคล 3 กลุ่ม
- การจัดเก็บและใช้ภาษีอากร ภาษีที่ดิน มรดก ฯลฯ
- การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต ภายในท้องถิ่นเองก่อน เหลือแล้วจึงนำไปให้ที่อื่นได้
- ผู้มีสิทธิรับซะกาต 3- จนท.รวบรวมซะกาต
- ผู้มีสิทธิรับซะกาต 4…
- ระบบซะกาตในอิสลาม ต่างจากภาษีอย่างไร ?
- "เศาะดะเกาะฮฺ" และ "ซะกาต"
- ซะกาตเป็นสิทธิของใคร 8 จำพวก
1- อัลฟุเกาะรออฺ (บรรดาผู้ที่ยากจน, ฟะกีร)
2- อัลมะซากีน (บรรดาผู้ที่ขัดสน, มิสกีน)
- ควรให้ซะกาตเท่าไหร่ ? อย่างไร ?
- ซะกาต…
การให้ยืม เป็นครึ่งหนึ่งของการบริจาค, ให้ผ่อนปรนแก่ลูกหนี้
โดย เชคริฎอ อะหมัด สมะดี

-- ฟะกีรหรือมิสกีน 
1- สถานะการเงิน ไม่มีเลย หรือมีแต่ไม่พอ อาจจะมีบ้าน แต่ไม่มีเงินพอใช้
2- อ่อนแอไม่สามารถดิ้นรนทำมาหากินได้ หรือทำงานได้แต่ก็ไม่พอใช้จ่าย
-…

ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า "มนุษย์มี 360 ชิ้นกระดูก หรือมี 36 หมวด(ข้อ)กระดูก จำเป็นต่อกระดูกทุกข้อต้องทำ #เศาะดะเกาะฮฺ (#บริจาค)เป็นการขอบคุณ"

มีผู้กล่าว(ถาม)ว่า "แล้วคนที่ไม่มีเงินทำเศาะดะเกาะฮฺล่ะครับ"
ท่านนบีตอบว่า "…