- การจัดเก็บและใช้ภาษีอากร ภาษีที่ดิน มรดก ฯลฯ
- การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต ภายในท้องถิ่นเองก่อน เหลือแล้วจึงนำไปให้ที่อื่นได้
- ผู้มีสิทธิรับซะกาต 3- จนท.รวบรวมซะกาต
- ผู้มีสิทธิรับซะกาต 4- มุอัลละฟะติ กุลูบุฮุม มี 3 ประเภท
- การบริหารจัดการซะกาต (จัดเก็บ แจกจ่าย)
- ตรวจสอบตัวเอง เราบกพร่องต่อคนรอบข้างมั้ย ? เป็นสาเหตุให้คนออกจากอิสลามไหม ?
- ซะกาตความรู้, ซะกาตมารยาท ฯลฯ
- ตอบปัญหา
เป้าหมายของการศึกษาเรื่องซะกาต การศึกษาเรื่องซะกาต มีประโยชน์ต่อบุคคล 3 กลุ่ม
1- ผุ้มีทรัพย์สินถึงพิกัดออกซะกาต (นิศอบ)
2- ผู้ที่ไม่มีทรัพย์สินถึงพิกัด และมีสิทธิ์รับซะกาต
3- ผู้ที่ไม่มีทรัพย์สินถึงพิกัด แต่ไม่มีสิทธิ์รับซะกาต -- ชนชั้นกลาง เป็นคนส่วนมาก
- ใครที่ต้องออกซะกาต ?
- มัซฮับอิมามชาฟิอีบอกว่า ต้องออกซะกาตให้ครบทั้ง 8 จำพวกที่ระบุในอายะฮฺนี้ แต่อุละมาอฺส่วนมากไม่เห็นด้วย
- ทัศนะของอิมามชาฟิอีบางเรื่อง มุสลิมไทยเราไม่ได้ทำตาม เช่น มุสลิมต้องปิดหน้า, เวลามักริบหมดไหร่ ฯลฯ
- การจัดเก็บและใช้ภาษีอากร ภาษีที่ดิน มรดก ฯลฯ
- การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต ภายในท้องถิ่นเองก่อน เหลือแล้วจึงนำไปให้ที่อื่นได้
إِنَّمَا الصَّدَقَاتُ لِلْفُقَرَاءِ وَالْمَسَاكِينِ وَالْعَامِلِينَ عَلَيْهَا وَالْمُؤَلَّفَةِ قُلُوبُهُمْ وَفِي الرِّقَابِ وَالْغَارِمِينَ وَفِي سَبِيلِ اللَّهِ وَابْنِ السَّبِيلِ ۖ فَرِيضَةً مِنَ اللَّهِ ۗ وَاللَّهُ عَلِيمٌ حَكِيمٌ
9:60 แท้จริงทานทั้งหลายนั้น สำหรับบรรดาผู้ที่ยากจน และบรรดาผู้ที่ขัดสน และบรรดาเจ้าหน้าที่ในการรวบรวมมัน และบรรดาผู้ที่หัวใจของพวกเขาสนิทสนม และในการไถ่ทาส และบรรดาผู้ที่หนี้สินล้นตัว และในทางของอัลลอฮฺ และผู้ที่อยู่ในระหว่างเดินทาง ทั้งนี้เป็นบัญญัติอันจำเป็นซึ่งมาจากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺนั้นเป็นผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงปรีชาญาณ
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 3- จนท.รวบรวมซะกาต
- จนท.เอาซะกาตของตนเองไม่ได้
- พ่อลูก รับซะกาตกันไม่ได้
- กินซะกาตของตัวเองไม่ได้เด็ดขาด
- ค่าใช้จ่ายในการแจกจ่ายซะกาต จนท.สามารถเบิกได้
องค์ที่แจกจ่ายซะกาต มีสิทธิแบ่งซะกาตมาเป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางได้มั้ย ? - มีสิทธิ ถ้าบอกแก่ผู้บริจาคก่อน
เงินรับบริจาคเหลือทำยังไง ? ใช้วัตถุประสงค์อื่นได้ไหม ?
- บัยตุ้ลมาล ระบบเก็บซะกาต -- การจัดการซะกาตพืชผล
- จนท. จัดการซะกาต เบิกเงินซะกาตไปใช้ได้ในกรณีใดบ้าง ?
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 4- มุอัลละฟะติ กุลูบุฮุม
มี 3 ประเภท
1- ไม่ใช่มุสลิมเลย (เป็นจำพวกเดียวที่ไม่ใช่มุสลิม แต่มีสิทธิรับซะกาต) ไม่จำเป็นต้องยากจน
2- รับอิสลามแล้ว แต่ยังลังเล ไม่หนักแน่น ไม่จำเป็นต้องยากจน - ประเภทนี้ท่านนบีให้เยอะ โดยเฉพาะหลังสงครามหุนัยนฺ (ฏออิฟ) ได้ทรัพย์เชลยเยอะมาก
3- รับอิสลามใหม่ อาจสร้างความเสียหายกับสังคม
- ตรวจสอบตัวเอง เราบกพร่องต่อคนรอบข้างมั้ย ? เป็นสาเหตุให้คนออกจากอิสลามไหม ?
เราอยู่ในสังคมต่างศาสนิก ต้องแสดงมารยาทที่ดีต่อหน้าคนอื่นเสมอ เสมือนเป็นซะกาตนิสัยที่ต้องมอบให้คนต่างศาสนิก
ซะกาตความรู้
ข้าวสารฟิฏเราะฮฺให้ญาติพี่น้องได้ไหม ? รับจากหลายที่ได้ไหม ?
ทำงานชมรม รับซะกาตได้ไหม ?
คนที่เราให้ซะกาตเลี้ยงอาหาร
สามี-ภรรยา ต้องแยกรายได้ แยกออกซะกาต ?
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 181 views