หัวข้อเรื่อง
"ผู้ใดเป็นศัตรูกับผู้เป็นที่รักของฉัน (วลี) แท้จริงฉันได้ประกาศสงครามกับเขา...", การตรวจสอบสายรายงาน,
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
12 เราะญับ 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
13.30 mb
ความยาว
56.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
คลิ้กเพื่อรับฟัง/ดาวน์โหลด (คลิ้กขวา บันทึกเป็น.../Save as...)
วีดีโอ
รายละเอียด
الحديث الثامن والثلاثون
عَنْ أَبِي هُريرة قالَ : قَالَ رَسولُ اللهِ صلى الله عليه وسلم : (( إنَّ الله تَعالَى قَالَ : مَنْ عَادَى لِي وَلِيّاً ، فَقَدْ آذنتُهُ بالحربِ ، وما تَقَرَّب إليَّ عَبْدِي بشيءٍ أحَبَّ إليَّ مِمَّا افترضتُ عَليهِ ، ولا يَزالُ عَبْدِي يَتَقرَّبُ إليَّ بالنَّوافِلِ حتَّى أُحِبَّهُ ، فإذا أَحْبَبْتُهُ ، كُنتُ سَمعَهُ الّذي يَسمَعُ بهِ ، وبَصَرَهُ الّذي يُبْصِرُ بهِ ، ويَدَهُ الَّتي يَبطُشُ بها ، ورِجْلَهُ الّتي يَمشي بِها ، ولَئِنْ سأَلنِي لأُعطِيَنَّهُ ، ولَئِنْ استَعاذَنِي لأُعِيذَنَّهُ )) . رواهُ البخاريُّ( ) .
จากอบีฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
“แท้จริง อัลลอฮฺตะอาลาตรัสว่า (หะดีษกุดซียฺ)
ผู้ใดเป็นศัตรูกับผู้เป็นที่รักของฉัน (วลี) แท้จริงฉันได้ประกาศสงครามกับเขา
และบ่าวของฉันจะไม่กระทำอะไรที่ทำให้เขาใกล้ชิดกับฉัน ที่ฉันจะรักยิ่งกว่าการทำฟัรฎู
และบ่าวของฉันจะขยันทำอิบาดะฮฺอาสา (นะวาซิล) จนกระทั่งฉันจะรักเขา
และเมื่อฉัน(อัลลอฮฺ)รักเขาแล้ว, ฉันจะเป็นหูที่เขาใช้ได้ยิน(ฟัง), และฉันจะเป็นดวงตาที่เขาใช้มอง, และฉันจะเป็นมือของเขาที่ใช้สัมผัส, และฉันจะเป็นเท้าของเขาที่ใช้เดิน
และหากเขาได้ขอฉันแล้ว จะให้เขาอย่างแน่นอน, และถ้าหากเขาขอความคุ้มครองต่อฉัน ฉันก็จะให้ความคุ้มครองเขา(อย่างแน่นอน)
หะดีษนี้ (เป็นหะดีษกุดซี) บันทึกโดยบุคอรีย์
วีดีโอ
هذا الحديثُ تفرَّد بإخراجه البخاري من دون بقية أصحاب الكتب ، خرَّجه عن محمد بن عثمان بن كرامة ، حدَّثنا خالدُ بن مَخلدٍ ، حدثنا سليمانُ بن بلال ، حدثني شريكُ بن عبد الله بن أبي نَمِر ، عن عطاء ، عن أبي هريرة ، عن النَّبيِّ ، فذكر الحديث بطوله ، وزاد في آخره :
(( وما ترددتُ عن شيءٍ أنا فاعِلُه ترددي عن نفس المؤمن يكره الموتَ وأنا أكره مساءته )) .
“ข้ามิได้ลังเลในเรื่องหนึ่งเรื่องใด มากกว่าที่ข้าลังเลในการยึดวิญญาณมุอฺมิน มุอฺมินเกลียดความตาย และข้าก็รังเกียจที่จะทำร้ายเขา”
وهو من غرائب " الصحيح " ، تفرّد به ابنُ كرامة عن خالدٍ ، وليس هو في " مسند أحمد " ، مع أنَّ خالدَ بن مخلد القطواني تكلَّم فيه أحمدُ وغيره ، وقالوا : له مناكير ( ) ، وعطاء الذي في إسنادِه قيل : إنَّه ابنُ أبي رباح ، وقيل : إنَّه ابن يسار ، وإنَّه وقع في بعض نسخ " الصحيح " منسوباً كذلك .وقد رُوي هذا الحديثُ من وجوهٍ أُخر لا تخلو كلُّها عن مقالٍ ، فرواه عبدُ الواحد بن ميمون أبو حمزة مولى عروةَ بن الزُّبير عن عروة ، عن عائشة ، عن النَّبيِّ ، قال : (( من آذى لي ولياً ، فقد استحلَّ محاربتي ، وما تقرَّب إليَّ عبدي بمثلِ أداء فرائضي ، وإنَّ عبدي ليتقرَّب إليَّ بالنوافل حتّى أُحبَّهُ ، فإذا أحببتُه ، كنت عينه التي يُبصر بها ، ويده التي يبطشُ بها ، ورِجلَه التي يمشي بها ، وفؤادهُ الذي يعقل به ، ولسانَه الذي يتكلم به ، إن دعاني أجبتُه ، وإن سألني أعطيته ، وما ترددت عن شيءٍ أنا فاعلُه تردُّدي عن موته ، وذلك أنَّه يكرهُ الموتَ وأنا أكره مساءته )) . خرَّجه ابنُ أبي الدنيا ( ) وغيره ، وخرّجه الإمام أحمد ( ) بمعناه .
“ใครที่ทำร้ายวลีของฉัน เท่ากับอนุญาตให้ประกาศสงครามกับฉัน
บ่าวของฉันไม่ได้ทำอะไรที่ทำให้เขาใกล้ชิดฉันดีกว่าการปฏิบัติฟัรฎู
แท้จริงบ่าวของฉันจะขยันทำสิ่งที่ทำให้เขาใกล้ชิดกับฉันด้วยนะวาฟิล(เรื่องอาสา) จนกระทั่งฉันจะรักเขา
และเมื่อฉันรักเขา ฉันจะเป็นดวงตาของเขาที่ใช้ดู มือของเขาที่ใช้สัมผัส และขาของเขาที่ใช้เดิน และเราจะเป็นหัวใจของเขาที่ใช้พิเคราะห์ และจะเป็นลิ้นของเขาที่ใช้พูด
ถ้าเขาเรียกฉัน ฉันก็จะตอบรับ ถ้าเขาขอฉัน ฉันก็จะให้
และฉันมิได้ลังเลเรื่องหนึ่งเรื่องใด นอกจากลังเลตัดสินใจให้เขาตาย ก็เพราะบ่าวของฉันเกลียดความตาย และฉันรังเกียจ ไม่อยากทำร้ายเขา (ไม่อยากทำให้เขาเสียใจ” บันทึกโดยอิมามอิบนุอะบิดดุนยาและอิมามอะหมัด
وذكر ابنُ عديٍّ ( ) أنه تفرَّد به عبدُ الواحد هذا عن عروة ، وعبد الواحد هذا قال فيه البخاري ( ) : منكرُ الحديثِ ، ولكن خرّجه الطبراني ( ) : حدثنا هارونُ بنُ كامل ، حدثنا سعيد بن أبي مريم ، حدثنا إبراهيم بن سويد المدني ، حدثني أبو حَزْرَة يعقوب بن مجاهد ، أخبرني عُروة ، عن عائشة ، عن النَّبيِّ ، فذكره . وهذا إسناده جيد ، ورجاله كلهم ثقات مخرّج لهم في " الصحيح " سوى شيخِ الطبراني ، فإنَّه لا يحضُرني الآن معرفةُ حاله ، ولعلَّ الراوي قال : حدثنا أبو حمزة ، يعني : عبد الواحد بن ميمون ( ) ، فخُيّلَ للسامع أنَّه قال : أبو حَزْرَةَ ، ثم سماه من عنده بناء على وهمه ، والله أعلم .
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 255 views