ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 172 (หะดีษที่ 47/1)

Submitted by admin on Fri, 13/06/2014 - 12:36
หัวข้อเรื่อง
“มนุษย์ไม่เคยบรรจุลงในภาชนะอันใดที่เลวยิ่งกว่า(การบรรจุลงใน)ท้อง เพียงพอแล้วสำหรับลูกหลานอาดัมด้วยอาหารเพียงไม่กี่คำที่สามารถจะยกหลังของเขา..." ประโยชน์ของการหิวต่อสุขภาพกายและหัวใจ, การดำเนินชีวิตของชาวสะลัฟในด้านการบริโภคอาหาร
สถานที่
มัสยิด มูลนิธิสันติชน
วันที่บรรยาย
10 ชะอฺบาน 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
19.80 mb
ความยาว
67.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديث السابع والأربعون 
หะดีษที่ 47
 
عَنِ المِقدامِ بنِ مَعدِ يكرِبَ قالَ : سَمِعْتُ رَسولَ اللهِ صلى الله عليه وسلم يَقولُ
: (( ما مَلأ آدميٌّ وِعاءً شَرّاً مِنْ بَطْنٍ ، بِحَسْبِ ابنِ آدمَ أَكَلاتٌ يُقِمْنَ صُلْبَهُ ، فإنْ كَانَ لا مَحالَةَ ، فَثُلُثٌ لِطعامِهِ ، وثُلُثٌ لِشَرابِهِ ، وثُلُثٌ لِنَفسه ))
رواهُ الإمامُ أحمَدُ والتِّرمِذيُّ والنَّسائيُّ وابنُ ماجَهْ ، وقَالَ التِّرمِذيُّ : حَدِيثٌ حَسَنٌ .
 
ความว่า : จากมิกดาม บินมะอฺดีกะริบ กล่าวว่า ฉันได้ยินท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า : “มนุษย์ไม่เคยบรรจุลงในภาชนะอันใดที่เลวยิ่งกว่า(การบรรจุลงใน)ท้อง เพียงพอแล้วสำหรับลูกหลานอาดัมด้วยอาหารเพียงไม่กี่คำที่สามารถจะยกหลังของเขา หรือหากจำเป็นจริง ๆ แล้ว ก็ (จงเตรียมท้องไว้สามส่วน) ส่วนหนึ่งสำหรับอาหาร ส่วนหนึ่งสำหรับเครื่องดื่ม และอีกส่วนหนึ่งสำหรับลมหายใจ”
 
วีดีโอ

 
هذا الحديثُ خرَّجه الإمام أحمد ( ) والترمذيُّ ( ) من حديث يحيى بن جابر الطائي عن المقدام ، وخرَّجه النَّسائي ( ) من هذا الوجه ومن وجه آخر من رواية صالح بن يحيى بن المقدام عن جدّه ( ) ، وخرّجه ابنُ ماجه ( ) من وجه آخر عنه وله طرق أخرى ( ) .
وقد رُوي هذا الحديث مع ذكر سببه ، فروى أبو القاسم البغوي في 
" معجمه " من حديث عبد الرحمان بن المُرَقَّع ، قال : فتح رسولُ الله  خيبر وهي مخضرةٌ من الفواكة ، فواقع الناسُ الفاكهةَ ، فمغثتهمُ الحُمَّى ، فشَكَوْا إلى رسولِ الله  ، 
 
فقال رسولُ الله  : (( إنّما الحمى رائدُ الموت وسجنُ الله في الأرض ، وهي قطعةٌ من النار ، فإذا أخذتكم فبرِّدوا الماء في الشِّنان ، فصبُّوها عليكم بين الصَّلاتين )) يعني المغرب والعشاء ، قال : ففعلوا ذلك ، فذهبت عنهم ، فقال رسولُ الله  : 
 
มีเศาะฮาบะฮฺท่านหนึ่งกินอาหารมากจนกระทั่งเป็นไข้  ท่านนบีกล่าวว่า “แท้จริงไข้คือสัญญาณแห่งความตาย และเป็นบทลงโทษ เสมือนเรือนจำ(คุก)ของอัลลอฮฺในโลกนี้ (ความร้อน)เป็นส่วนหนึ่งจากนรก ถ้าเป็นไข้แล้วให้เอาน้ำมาเก็บในภาชนะ(ให้มันเย็น) แล้วเอาน้ำมาเช็ดตัวระหว่าง 2 เวลา (มักริบกับอิชาอฺ)” พอรักษาแล้ว นบีก็เรียกมาอบรม -- ชี้แจงความคลาดเคลื่อนในการนำหะดีษไปเผยแพร่
 
(( لم يخلُقِ الله وعاءً إذا مُلِئَ شرّاً من بطن ، فإن كان لابدَّ ، فاجعلوا ثُلُثاً للطَّعام ، وثُلثاً للشَّراب ، وثُلثاً للرِّيح )) ( ) .
26.0 “ไม่มีภาชนะที่มันจะเลวร้ายไปกว่ากระเพาะ ถ้าเราเอาอาหารมาบรรจุเลยเถิดไป หากมีความจำเป็นต้องกิจมากนัก (ก็ให้บริหาร) หนึ่งในสามสำหรับอาหาร, หนึ่งสามสำหรับเครื่องดื่ม และหนึ่งในสามสำหรับลม(ไว้หายใจ)
 (สำนวนนี้มีสายรายงานค่อนข้างอ่อนแอ แต่โดยรวมแล้วเนื้อหาเป็นที่ยอมรับของอุละมาอฺหะดีษ)
 
ประโยชน์ของการกินน้อยที่มีต่อสุขภาพร่างกาย
وهذا الحديثُ أصلٌ جامعٌ لأصول الطب كُلِّها . وقد رُوي أنَّ ابنَ أبي ماسويه ( ) الطبيبَ لمَّا قرأ هذا الحديث في كتاب أبي خيثمة ، قال : لو استعملَ الناسُ هذه الكلمات ، سَلِموا مِنَ الأمراض والأسقام ، ولتعطَّلت المارستانات ( ) ودكاكين الصيادلة ، وإنَّما قال هذا ؛ لأنَّ أصل كلِّ داء التُّخَم ، كما قال بعضهم : أصلُ كُلِّ داء البردةُ ، وروي مرفوعاً ولا يصحُّ رفعه ( ) .
อิบนุเราะญับบอกว่า หะดีษนี้เป็นหลักการสำคัญในวิชาการแพทย์
35.0 อิบนุอบีมาสะเวห์ หมอชื่อดังชาวคริสต์ในยุคสะลัฟ (ประมาณศตวรรษที่ 2) ได้ยินหะดีษนี้ เขาก็กล่าวว่า ถ้ามนุษย์บริหารกระเพาะแบบนี้ เขาจะปราศจากโรคต่างๆ โรงพยาบาลจะปิดประตูเลย ร้านขายยาก็ปิด (ไม่มีใครไปซื้อยา) 
المارستانات – โรงพยาบาล  
สาเหตุของโรคทุกชนิดคือความเอิบอิ่ม (อิ่มจนจุก     )  التُّخَم         
สำนวนนี้มีรายงานว่าเป็นหะดีษ แต่ไม่เศาะฮี้ฮ
 
وقال الحارث بن كَلَدَة طبيبُ العرب : الحِمية رأسُ الدواء ، والبِطنةُ رأسُ الداء ، ورفعه بعضهم ولا يصحُّ أيضاً ( ) .
แพทยอาหรับชื่อดังสมัยท่านนบีชื่อว่า อัลฮาริษ กล่าวไว้ว่า “การงดอาหาร คือหัวหน้าของยาบำบัด, แต่การบรรจุกระเพาะให้เต็มเป็นสาเหตุใหญ่ของโรคต่างๆ
 
وقال الحارث أيضاً : الذي قتل البرية ، وأهلك السباعَ في البرية ، إدخالُ الطعام على الطعام قبل الانهضام .
อัลฮาริษ “ที่คร่ามนุษย์ทั้งหลาย และคร่าสัตว์ดุทั้งหลาย คือไปกินอาหาร ตามอาหารที่ยังไม่ย่อย
وقال غيره : لو قيل لأهل القبور : ما كان سببُ آجالكم ؟ قالوا : التُّخَمُ ( ) .
فهذا بعض منافع تقليلِ الغذاء ، وتركِ التَّمَلِّي من الطَّعام بالنسبة إلى صلاح البدن وصحته .
47.0 นักปราชญ์กล่าวไว้ว่า ถ้ามีคนไปถามชาวกุโบร์ว่าตายเพราะอะไร เขาจะตอบว่า “เพราะอ้วน(กินมาก)”
นี่คือประโยชน์ของการลดปริมาณอาหาร และการละทิ้งการแสวงหาความสุขจากอาหาร 
อาหารไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อให้ความสุข เปลี่ยนทัศนะจาก “อาหาร” คู่กับ “อร่อย” เป็นอาหารมีประโยชน์ ไม่จำเป็นต้องอร่อยก็กินได้ 
 
การอดอยากบ้างหิวบ้างมีประโยชน์สำหรับหัวใจและนัฟซูมั้ย ?
وأما منافِعُه بالنسبة إلى القلب وصلاحه ، فإنَّ قلةَ الغذاء توجب رِقَّة القلب ، وقوَّة الفهم ، وانكسارَ النفس ، وضعفَ الهوى والغضب ، وكثرةُ الغذاء توجب ضدَّ ذلك .
52.30 นี่คือประโยชน์ของการประหยัดอาหารขณะบริโภคในด้านร่างกาย แล้วประโยชน์สำหรับหัวใจ จิตใจ หรือนัฟซูล่ะ มีมั้ย การอดอยากบ้างหิวบ้างมีประโยชน์สำหรับหัวใจและนัฟซูมั้ย ?
สำหรับหัวใจและความดีของหัวใจ อาหารน้อย นำมาซึ่งความอ่อนโยนของหัวใจ อยากอ่านกุรอานแล้วร้องไห้ อ่านแล้วขนลุก อยากละหมาดกิยามุลลัยลฺแล้วร้องไห้มั้ย ให้หิวนิดๆ อย่าให้อิ่ม
55.0 อาหารน้อยในกระเพาะจะทำให้หัวใจอ่อนโยน และความเข้าใจจะแข็งแกร่ง(เฉียบคม) และเกิดความถ่อมตน, (อาหารน้อยจะ)ระงับอารมณ์และความโมโห, และกินอาหารมากก็จะได้สิ่งตรงกันข้าม (นำมาซึ่งอารมณ์ ความโมโห ความตะกับบุรเย่อหยิ่ง)    
ท่านอะลีก็เป็นคนอ้วนมีพุง หัวโล้นหน่อย เป็นที่รู้กันว่าท่านเป็นนักรบ กล้าหาญ ถอนประตูป้อมได้ด้วยมือเดียว
 
قال الحسن : يا ابنَ آدم كُلْ في ثلث بطنك ، واشرب في ثلثٍ ، ودع ثُلُثَ بطنك يتنفَّس لتتفكر .
หะซัน อัลบัศรียฺ – โอ้ลูกหลานอาดัมเอ๋ย จงกินหนึ่งในสามของกระเพาะ ดื่มอีกหนึ่งในสาม และไว้อีกหนึ่งในสามให้หายใจ จะได้คิดไตร่ตรองได้
 
وقال المروذي : جعل أبو عبد الله : يعني : أحمدَ يُعظِّمُ أمر الجوع والفقر ، فقلت له : يُؤجر الرجل في ترك الشهوات ، فقال : وكيف لا يؤجر ، وابنُ عمر يقول : ما شبعت منذ أربعة أشهر ؟ قلت لأبي عبد الله : يجد الرجلُ مِنْ قلبه رقَّة وهو يشبع ؟ قال : ما أرى ( ) .
อัลมะรูซี – อิมามอะหมัดบรรยายครั้งหนึ่งพูดถึงประโยชน์ของความหิวและความยากจน
1.00 ท่านอุมัร อิบนุลค็อฏฏ๊อบ - พวกท่านนึกอยากจะกินอะไรก็ไปซื้อเหรอ ให้ระงับไว้บ้าง
1.03 การละทิ้งสิ่งที่อยากกินจะได้ผลบุญหรือไม่ อิมามอะหมัดบอกว่า จะไม่ได้ผลบุญได้อย่างไร ท่านอับดุลลอฮฺอิบนุอุมัรบอกว่า 4 เดือนแล้วที่ข้าพเจ้าไม่เคยกินอาหารอิ่มเลยสักมื้อ
หากคนหนึ่งคนใดกินและอิ่ม หัวใจจะอ่อนโยนมั้ย อิมามอะหมัดบอกว่า ไม่น่าจะได้
 
وروى المروذي عن أبي عبد الله قول ابن عمر هذا من وجوه ، فروى بإسناده عن ابن سيرين ، قال : قال رجل لابن عمر : ألا أجيئك بجوارش ؟ قال : وأيُّ شيء هو ؟ قال : شيءٌ يَهضِمُ الطعامَ إذا أكلته ، قال : ما شبعتُ منذ أربعةِ أشهر ، وليس ذاك أني لا أقدر عليه ، ولكن أدركت أقواماً يجوعون أكثرَ مما يشبعون ( ) .
وبإسناده عن نافع ، قال : جاء رجل بجوارش إلى ابن عمر ، فقال : ما هذا ؟ قال : جوارش : شيءٌ يُهضَمُ به الطعامُ ، قال : ما أصنع به ؟ إنِّي ليأتي عليَّ الشهرُ ما أشبع فيه من الطعام ( ) .
 

 

icon4