หัวข้อเรื่อง
คำแนะนำของสะลัฟ ให้มี "ซุฮดฺ" เมื่อถูกทดสอบ(มุซีบะฮฺ),
ซุฮดฺเป็นการงานของหัวใจ ไม่ใช่อวัยวะ,
เมื่อถูกทดสอบในเรื่องดุนยาให้ดีใจในผลบุญของบททดสอบ มากกว่าเสียใจต่อบททดสอบ,
รากฐานของซุฮดฺคือความพอใจต่ออัลลอฮฺ,
คนที่ชอบดุนยา จะชอบให้คนชื่นชม ไม่ชอบคนตำหนิ,
อย่าแสวงหาความพอใจของมนุษย์ ด้วยความโกรธกริ้วของอัลลอฮฺ
ซุฮดฺเป็นการงานของหัวใจ ไม่ใช่อวัยวะ,
เมื่อถูกทดสอบในเรื่องดุนยาให้ดีใจในผลบุญของบททดสอบ มากกว่าเสียใจต่อบททดสอบ,
รากฐานของซุฮดฺคือความพอใจต่ออัลลอฮฺ,
คนที่ชอบดุนยา จะชอบให้คนชื่นชม ไม่ชอบคนตำหนิ,
อย่าแสวงหาความพอใจของมนุษย์ ด้วยความโกรธกริ้วของอัลลอฮฺ
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
13 ซุลเก๊าะดะฮฺ 1434
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
15.80 mb
ความยาว
99.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
คลิ้กเพื่อรับฟัง/ดาวน์โหลด (คลิ้กขวา บันทึกเป็น.../Save as...)
วีดีโอ
รายละเอียด
الحديث الحادي والثلاثون
عَنْ سهلِ بنِ سعْدٍ السَّاعِديِّ قال : جاءَ رجُلٌ إلى النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم فقالَ : يا رَسولَ الله دُلَّني عَلى عَمَلٍ إذا عَمِلْتُهُ أَحَبَّنِي الله ، وأحَبَّنِي النَّاسُ ، فقال : (( ازهَدْ فِي الدُّنيا يُحِبَّكَ الله ، وازهَدْ فيمَا في أيدي النَّاسِ يُحبَّكَ النَّاسُ )) .
حديثٌ حسنٌ رَواهُ ابنُ ماجه ( ) وغيرُهُ بأسانِيدَ حَسَنةٍ .
จากอบูอับบาส (สะฮลุบนุสะอดฺ อัสสาอิดี) กล่าวว่า
มีชายคนหนึ่งไปหาท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แล้วถามว่า “โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ! ขอได้โปรดบอกฉันถึงการงานอย่างหนึ่งเมื่อฉันทำแล้วจะทำให้อัลลอฮฺทรงรักฉัน และการงานที่จะทำให้ผู้คนรักฉันด้วย” ท่านตอบว่า “จงดูถูกดุนยา(สมถะต่อดุนยา) แล้วอัลลอฮฺจะทรงรักท่าน และจงดูถูกสิ่งที่มีอยู่ในครอบครองของมนุษย์ แล้วมนุษย์จะรักท่าน”
วีดีโอ
3 เรื่องที่สื่อถึงการดูถูกดุนยา(อัซซุฮดฺ) ต้องมีอะไรบ้าง จึงจะถือว่าดูถูกดุนยา
ประการที่ 1 เชื่อในริสกีที่มาจากอัลลอฮฺมากกว่าจากมนุษย์
والثاني : أنْ يكونَ العبدُ إذا أُصيبَ بمصيبةٍ في دُنياه مِنْ ذهابِ مالٍ ، أو ولدٍ ، أو غير ذلك ، أرغبَ في ثواب ذلك ممَّا ذهبَ منه مِنَ الدُّنيا أنْ يبقي له ، وهذا أيضاً ينشأُ مِنْ كمالِ اليقين .
ประการที่ 2- บ่าวคนหนึ่งคนใดถ้าถูกทดสอบในมุซีบะฮฺเกี่ยวกับดุนยา เช่น เงินหรือลูก
เขาจะมีความดีใจในผลบุญจากบททดสอบมากกว่าความเสียใจในบททดสอบนี้
وقد روي عن ابن عمر : أنَّ النَّبيَّ صلى الله عليه وسلم كان يقول في دعائه
: (( اللَّهُمَّ اقْسِمْ لَنَا مِنْ خَشْيَتِكَ مَا تَحُولُ بِهِ بَيْنَنَا وَبَيْنَ مَعَاصِيكَ، وَمِنْ طَاعَتِكَ مَا تُبَلِّغُنَا بِهِ جَنَّتَكَ، وَمِنَ الْيَقِينِ مَا تُهَوِّنُ بِهِ عَلَيْنَا مَصَائِبَ الدُّنْيَا، )) ( )
وهو من علامات الزُّهد في الدُّنيا ، وقلَّةِ -
อัลลอฮุมมักซิมละนา มินคอชยะติกะ มาตะฮูลุบิฮี บัยนะนา วะบัยนะมะอาศีกะ
วะมินฏออะติกะ มาตุบัลลิฆุนาบิฮี ญันนะตะกะ
วะมินัลยะกีนิ มาตุเฮาวินุบิฮี อะลัยนา มะศออิบัดดุนยา
ดุอาอฺของท่านนบี “โอ้อัลลอฮฺ ขอได้ทรงโปรดแบ่งส่วนจากความยำเกรงต่อพระองค์ให้พอแก่การกีดขวางระหว่างเราและการฝ่าฝืนต่อพระองค์ด้วยเถิด
และได้โปรดช่วยเหลือให้เราสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ทำอิบาดะฮฺต่อพระองค์ โดยที่อิบาดะฮฺนั้นสามารถทำให้เราได้เข้าสวรรค์
และขอให้พวกเรามีความมั่นใจ(ยะกีน) โดยที่ความมั่นใจนั้นทำให้มุซีบะฮฺแห่งดุนยานี้ลดลง (ความเจ็บปวดของการทดสอบลดลงเพราะมีความมั่นใจในผลบุญจากอัลลอฮฺตะอาลา)
الرَّغبة فيها ، كما قال عليٌّ رضي الله عنه : من زهد في الدُّنيا ، هانت عليه المصيباتُ .
ท่านอะลี ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ผู้ใดที่ดูถูกดุนยา บรรดามุซีบะฮฺต่างๆที่จะประสบกับเขาก็ถือว่าเป็นเรื่องเล็ก
والثالث : أنْ يستوي عندَ العبد حامدُه وذامُّه في الحقِّ ،
ประการที่ 3 สำหรับบ่าวของอัลลอฮฺ คนที่ตำหนิกับคนที่ยกย่องต้องเสมอกัน
وهذا من علامات الزُّهد في الدُّنيا ، واحتقارها ، وقلَّةِ الرَّغبة فيها ، فإنَّ من عظُمتِ الدُّنيا عنده أحبَّ المدحَ وكرِهَ الذَّمَّ ، فربما حمله ذلك على تركِ كثيرٍ مِنَ الحق خشيةَ الذَّمِّ ، وعلى فعلِ كثيرٍ مِنَ الباطلِ رجاءَ المدح ، فمن استوى عنده حامدُه وذامُّه في الحقِّ ، دلَّ على سُقوط منـزلة المخلوقين من قلبه ، وامتلائه مِنْ محبَّة الحقِّ ، وما فيه رضا مولاه ،
كما قال ابن مسعود : اليقين أنْ لا تُرضي النَّاسَ بسخط الله ( ) .
وقد مدح الله الذين يُجاهدون في سبيل الله ، ولا يخافون لومة لائم .
อับดุลลอฮฺ อิบนุมัสอู๊ด กล่าวว่า ความมั่นใจในผลบุญจากอัลลอฮฺ(ยะกีน) จะทำให้ไม่แสวงหาความพอใจของมนุษย์ด้วยความกริ้วจากอัลลอฮฺ
อัลลอฮฺสรรเสริญบรรดาผู้ที่ต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺ และเขาไม่กลัวข้อตำหนิใดๆ
وقد روي عن السَّلف عبارات أخرُ في تفسير الزُّهد في الدُّنيا ، وكلها تَرجِعُ إلى ما تقدَّم ، - คำนิยามอัซซุฮดิของบรรดาสะลัฟก็จะกลับไปสู่สามประการนี้
كقول الحسن : الزاهد الذي إذا رأى أحداً قال : هو أفضل مني ،
หะซันอัลบัศรี กล่าวว่า คนที่ดูถูกดุนยาจริงๆ เมื่อพบใครเขาจะบอกว่าคนนี้น่ะ(อีมานของเขา)ดีกว่าฉันแน่นอน เขาจะไม่ยกย่องตนเอง
وهذا يرجع إلى أنَّ الزاهد حقيقةً هو الزَّاهدُ في مدح نفسه وتعظيمها ، ولهذا يقال : الزهد في الرِّياسة أشدُّ منه في الذهب والفضة ( ) ، فمن أخرج مِنْ قلبه حبَّ الرياسة في الدُّنيا ، والتَّرفُّع فيها على الناس ، فهو الزاهد حقاً ، وهذا هو الذي يستوي عنده حامدُه وذامُّه في الحقِّ ، وكقول وهيب بن الورد : الزهد في الدُّنيا أنْ لا تأسى على ما فات منها ، ولا تفرح بما آتاك منها ( ) ، قال ابن السماك : هذا هو الزاهد المبرز في زهده .
การดูถูกดุนยาที่แท้จริงคือการดูถูกตัวเอง ไม่ปรารถนาที่จะให้คนมายกย่อง
การดูถูก(สมถะ)ในเรื่องตำแหน่งในสายตามนุษย์ยากกว่าการสมถะในเรื่องเงินทอง...
وهذا يرجع إلى أنَّه يستوي عند العبد إدبارها وإقبالها وزيادتها ونقصُها ، وهو مثلُ استواءِ المصيبة وعدمها كما سبق .
وسئل بعضُهم - أظنُّه الإمام أحمد - عمَّن معه مالٌ : هل يكون زاهداً ؟ قال : إنْ كان لا يفرح بزيادته ولا يحزن بنقصه ، أو كما قال .
อิมามอะหมัดถูกถามว่า คนที่มีทรัพย์สินเยอะ เขาจะเป็นคนที่ดูถูกดุนยามั้ย
ตอบ – เป็น ไม่ว่าบัญชีจะลดหรือเพิ่มก็ไม่ดีใจเสียใจ
وسئل الزهري عن الزاهد فقال : من لم يغلب الحرامُ صبرَه ، ولم يشغل الحلالُ شكره ( ) ، وهذا قريبٌ ممَّا قبله ، فإنَّ معناه أنَّ الزاهد في الدُّنيا إذا قدر منها على حرام ، صبر عنه ، فلم يأخذه ، وإذا حصل له منها حلالٌ ، لم يشغَلْهُ عَنِ الشُّكر ، بل قام بشكرِ الله عليه .
قال أحمد بن أبي الحواري : قلتُ لسفيان بن عيينة : مَنِ الزَّاهد في الدُّنيا ؟ قال : من إذا أنعم عليه شكر( )، وإذا ابتُلي صبر . فقلت : يا أبا محمد قد أنعم عليه فشكر ، وابتلي فصبر ، وحبس النِّعمةَ ( ) ، كيف يكون زاهداً ؟! فقال : اسكت ، من لم تمنعه النَّعماءُ مِنَ الشُّكر ، ولا البلوى من الصَّبر ، فذلك الزاهد ( ) .
1.16
وقال ربيعة : رأس الزهادة جمعُ الأشياء بحقها ، ووضعُها في حقِّها ( ) .
หัวกะทิของซุฮดฺคือ รวบรวมทรัพย์สินของดุนยานี้ด้วยความชอบธรรม และแจกจ่ายด้วยความชอบธรรม
وقال سفيان الثوري : الزهد في الدُّنيا قِصَرُ الأمل ، ليس بأكل الغليظ ، ولا بلبس العباء ( ) ، وقال : كان من دعائهم : اللهم زهِّدنا في الدُّنيا ، ووسِّع علينا منها ، ولا تزوِها عنا ، فترغِّبنا فيها .
ซุฟยาน อัษเษารี – ดูถูกดุนยาคือให้ความหวังลดลง
ดุอาอฺของบรรดาสะลัฟ – โอ้อัลลอฮฺ ได้โปรดให้เราดูถูกดุนยา และให้เรามีดุนยาอย่างกว้างขวาง โปรดอย่าให้ดุนยานี้ห่างออกจากเรา(ทำให้เราไล่ตามดุนยา) แต่ขอให้เราดูถูกมัน
وكذا قال الإمام أحمد : الزُّهد في الدُّنيا : قِصَرُ الأمل ، وقال مرة : قِصَرُ الأملِ واليأسُ مما في أيدي الناس .
ووجه هذا أنَّ قِصَرَ الأملِ يُوجِبُ محبَّةَ لقاء الله بالخروج من الدُّنيا ، وطول الأمل يقتضي محبَّةَ البقاءِ فيها ، فمن قصُرَ أملُه ، فقد كره البقاء في الدُّنيا ، وهذا نهاية الزُّهد فيها ، والإعراض عنها ، واستدل ابنُ عيينة لهذا القول بقوله تعالى
: قُلْ إِنْ كَانَتْ لَكُمُ الدَّارُ الآخِرَةُ عِنْدَ اللهِ خَالِصَةً مِنْ دُونِ النَّاسِ فَتَمَنَّوُا الْمَوْتَ إنْ كُنْتُمْ صَادِقِينَ إلى قوله: وَلَتَجِدَنَّهُمْ أَحْرَصَ النَّاسِ عَلَى حَيَاةٍ ( ).
وروى ابن أبي الدُّنيا بإسناده عن الضَّحَّاك بن مزاحم قال : أتى النَّبيَّ
رجلٌ ، فقال : يا رسول الله ، مَنْ أزهدُ النَّاسِ ؟ فقال : (( من لم ينسَ القبرَ والبِلى ، وترك أفضلَ( ) زينة الدُّنيا ، وآثرَ ما يبقى على ما يفنى ، ولم يعدَّ غداً مِنْ أيَّامه وعدَّ نفسه من الموتى )) ( ) وهذا مرسل .
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 315 views