ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 194 (หะดีษที่ 37/1)

Submitted by admin on Sun, 18/01/2015 - 10:57
หัวข้อเรื่อง
สวนสวรรค์ถูกห้อมล้อมด้วยสิ่งที่อารมณ์ไม่ชอบ
การตอบแทนคุณงามความดีและความชั่ว,
หะดีษที่สร้างความหวังและความละอายต่ออัลลอฮฺตะอาลา,
1 ความดีจะถูกคิดเป็น 10-700 เท่า,
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
25 เราะบีอุ้ลเอาวัล 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
22.40 mb
ความยาว
94.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديثُ السَّابِعُ والثلا ثون 
عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ رضي اللهُ عنهما ، عن رسولِ اللهِ صلى الله عليه وسلم فِيْمَا يَرْوِيهِ عَنْ رَبِّهِ تَبَارَكَ وَتَعَالَى قَالَ : 
(( إِنَّ اللهَ كَتَبَ الْحَسَنَاتِ وَالسَّـيِّئَاتِ ثُمَّ بَيَّنَ ذَلِكَ  : فَمَنْ هَمَّ بِحَسَنَةٍ فَلَمْ يَعْمَلْهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ حَسَنةً كَامِلَةً ، وَإِنْ هَمَّ بِهَا فَعَمِلَهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ عَشْرَ حَسَنَاتٍ إِلَى سَبْعِ مِئَةِ ضِعْفٍ إِلَى أَضْعَافٍ كَثِيْرَةٍ ، وَإِنْ هَمَّ بِسَيِّـئَةٍ فَلَمْ يَعْمَلْهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ حَسَنَةً كَامِلَةً ، وَإِنْ هَمَّ بِهَا فَعَمِلَهَا كَتَبَهَا اللهُ سَيَّـئَةً وَاحِدَةً )). 
رَواهُ البُخارِيُّ ومُسلمٌ .
หะดีษที่ 37 การตอบแทนคุณงามความดี
จากอิบนุอับบาส ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้รายงานจากคำตรัสแห่งอัลลอฮฺ (ตะบาร่อกะ วะตะอาลา) ซึ่งตรัสว่า
“แท้จริง อัลลอฮฺได้ทรงบันทึก(ทำบัญชี)ไว้ซึ่งหะสะนาตและซัยยิอาต แล้วพระองค์ได้ทรงชี้แจง(อธิบาย)ดังนี้
ผู้ใดที่ตั้งใจทำความดีหนึ่งเรื่อง แล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกไว้เป็นความดีหนึ่งคะแนนเต็มๆ
แต่ถ้าตั้งใจทำ(ดี) แล้วทำจริง อัลลอฮฺจะบันทึกความดีสิบเท่าถึงเจ็ดร้อยเท่า ถึงหลายๆเท่า
แต่ถ้าหากตั้งใจทำความชั่ว แล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกเป็นความดี 1 คะแนนเต็มๆ
แต่ถ้าตั้งใจทำ(ชั่ว) แล้วทำจริง อัลลอฮฺจะบันทึกความชั่วเพียง 1 คะแน
ในบันทึกของอิมามมุสลิม มีสำนวนเพิ่มเติมว่า 
وفي رواية لمسلم زيادةٌ في آخر الحديث ، وهي : (( أو محاها الله ، ولا يَهلِكُ على الله إلاَّ هالكٌ )) .
"(คนที่ตั้งใจทำชั่วแล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกความดี 1 คะแนนเต็ม) หรืออัลลอฮฺอาจจะลบล้าง, ใครจะหายนะด้วยการตอบแทนแบบนี้ ก็สมควรแล้ว"

สวนสวรรค์ถูกห้อมล้อมด้วยสิ่งที่อารมณ์ไม่ชอบ
عن أبي هريرة رضي الله عنه أن رسول الله صلى الله عليه و سلم قال: «حُجِبَتِ النَّارُ بِالشَّهَوَاتِ، وَحُجِبَتِ الجَنَّةُ بِالمكَارِهِ». متفق عليه
จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฏิยัลลอฮฺ อันฮุ แท้จริงท่านรอสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า
“นรกถูกห้อมล้อมด้วยกับอารมณ์ใฝ่ต่ำ(หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตามอารมณ์ใฝ่ต่ำ ส่วนมากจะนำไปสู่นรก) และสวนสวรรค์ถูกห้อมล้อมด้วยกับสิ่งที่อารมณ์ไม่ชอบ” 
(บันทึกโดย อัล-บุคอรีย์ หมายเลข 6487 สำนวนนี้เป็นของท่าน และ มุสลิม หมายเลข 2823)

เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม เคยบอกว่า “สวรรค์ถูกห้อมล้อมด้วยความน่ารังเกียจ(สิ่งที่ขัดกับอารมณ์) และนรกถูกห้อมล้อมด้วยความปรารถนาของตัณหา”(มุสลิม 2822)

عن أنس أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال حفت الجنة بالمكاره وحفت النار بالشهوات

 “สวรรค์นั้นถูกห้อมล้อมด้วยสิ่งที่น่ารังเกียจ"นรกถูกล้อมด้วยความใคร่(ความอยาก)


 

وفي هذا المعنى أحاديثُ متعددة ، فخرجا في " الصحيحين " من حديث أبي هريرة عن النَّبيِّ  ، قال : (( يقولُ الله : إذا أراد عبدي أنْ يعملَ سيِّئة ، فلا تكتُبوها عليه حتَّى يعملها ، فإنْ عملَها ، فاكتبوها بمثلِها ، وإنْ تركها مِنْ أجلي ، فاكتبوها له حسنةً ، وإذا أراد أنْ يعملَ حسنةً ، فلم يعمَلْها ، فاكتبوها له حسنةً ، فإن عملَها ، فاكتبوها له بعشر أمثالها إلى سبع مئة ضعفٍ )) وهذا لفظ البخاري ( ) ، 
อัลลอฮฺตรัสว่า “หากบ่าวของเราตั้งใจทำความชั่ว อย่าบันทึกจนกว่าเขาจะทำจริง”, หากเขาละทิ้งความชั่ว(ที่เขาตั้งใจทำ)เพื่อฉัน ให้บันทึกเป็นความดี, ถ้าบ่าวของเราประสงค์(อะรอดะ)ทำความดี แต่ไม่ได้ทำ ก็ให้บันทึกเป็นความดี หากได้ทำความดีแล้ว ก็ให้บันทึกเป็นความดี 10 เท่า หรือ 700 เท่า
 
وفي رواية لمسلم ( ) : (( قال الله : إذا تحدَّثَ عبدي بأنْ يعملَ حسنةً ، فأنا أكتُبها له حسنةً ما لم يعمل ، فإذا عملَها ، فأنا أكتُبها بعشرِ أمثالها ، وإذا تحدَّث بأنْ يعملَ سيِّئة ، فأنا أغفِرُها له ما لم يعملْهَا ، فإذا عملها ، فأنا أكتُبها له بمثلها )) .
“หากบ่าวของเราคุยกับตัวเองว่าจะทำความดี เราจะบันทึกเป็นความดี ยกเว้นถ้าไปทำจริง เราจะบันทึกให้สิบเท่า, และเมื่อเขาคุยกับตัวเอง(คิด)จะทำความชั่ว เราก็จะอภัยโทษให้ต่อเมื่อยังไม่ได้ทำ แต่ถ้าได้ทำความชั่วแล้ว เราจะบันทึกเป็น 1 ความชั่ว”
 
 وقال رسول الله  : (( قالتِ الملائكةُ : ربِّ ذاك عبدُك يريدُ أنْ يعملَ سيِّئة - وهو أبصرُ به - قال : ارقبوه ، فإنْ عملَها ، فاكتبوها له بمثلها ، وإنْ تركها ، فاكتبوها له حسنةً ، إنَّما تركها من جرَّايَ )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “มลาอิกะฮฺสนทนากับอัลลอฮฺว่า “โอ้อัลลอฮฺ นี่บ่าวของพระองค์เขาประสงค์จะทำความชั่ว” อัลลอฮฺตรัสว่า “ให้เฝ้าดู ถ้าเขาได้ทำความชั่วก็ให้บันทึกความชั่ว 1 เท่า หากได้ทิ้งมัน ให้บันทึกเป็นหนึ่งความดี แท้จริงเขาได้ทิ้งความชั่วเนื่องจากกลัวเรา(อัลลอฮฺ)”
 
 قال رسول الله  : (( إذا أحسنَ أحدُكم إسلامه ، فكلُّ حسنةٍ يعملها تُكتبُ بعشر أمثالها إلى سبع مئة ضعف ، وكلُّ سيِّئة يعملُها تُكتَبُ بمثلها حتَّى يلقى الله )) . 
ท่านนบีกล่าวต่อไปว่า “ถ้าคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่าน อิสลามของเขาสมบูรณ์แล้ว ความดีทุกประการที่ได้ทำ อัลลอฮฺก็จะบันทึกเป็นความดี 10 ถึง 700 เท่า และความชั่วทุกประการจะถูกบันทึกเป็นความชั่วหนึ่งเท่าเท่านั้น จนกว่าจะไปพบอัลลอฮฺตะอาลา(คือไม่มีการเปลี่ยนแปลง)”
 
وفي " الصحيحين " عن أبي هُريرة ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( كلُّ عملِ ابنِ آدمَ يُضاعَف : الحسنةُ عشر أمثالها إلى سبع مئة ضعف ، قال الله  : إلاَّ الصِّيام ، فإنَّه لي ، وأنا أجزي به ، يدعُ شهوتَه وطعامَه وشرابَه مِنْ أجلي )) ، وفي رواية بعد قوله : (( إلى سبع مئة ضعف )) : (( إلى ما يشاء الله )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “การงานของลูกหลานอาดัมจะถูกคิดอย่างทวีคูน ความดีหนึ่งคะแนนจะถูกคิดสิบถึงเจ็ดร้อยเท่า, อัลลอฮฺตรัสว่า “ยกเว้นอัศศิยาม(การถือศีลอด) เป็นของฉัน ฉันจะตอบแทนเอง, (เพราะ)เขาได้ทิ้งอารมณ์ อาหาร เครื่องดื่ม เพื่อฉัน” อีกริวายะฮฺหนึ่ง ท่านนบีกล่าวว่า “มากกว่า 700 เท่า, จนกระทั่งถึงตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค์”
وفي " صحيح مسلم " ( ) عن أبي ذرٍّ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( يقولُ الله : مَنْ عمل حسنةً، فله عشرُ أمثالها أو أَزِيدُ ، ومن عمل سيِّئة ، فجزاؤها مِثلُها أو أغفرُ )) . 
อัลลอฮฺตรัสว่า “ผู้ใดทำความดี จะได้รับการตอบแทนสิบเท่าหรือเราจะเพิ่มพูนมากกว่านี้, และใครที่ทำความชั่ว ผลตอบแทนคือเท่าตัว หรือเราจะยกโทษให้”
وفيه أيضاً ( ) عن أنس ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( من همَّ بحسنةٍ ، فلم يعْمَلها ، كُتِبَت له حسنةً ، فإنْ عَمِلَها ، كتبت له عشراً ، ومن هَمَّ بسيِّئة ، فلم يعملها لم يُكتب عليه شيءٌ ، فإنْ عَمِلَها ، كُتِبَت عليه سيِّئة واحدةً )) .
وفي " المسند " ( ) عن خُرَيْمِ بن فاتكٍ ، عن النَّبيِّ   ، قال : (( من همَّ بحسنة ، فلم يعملها ، فعلم الله أنَّه قد أشعرها قلبه ، وحَرَصَ عليها ، كُتِبَت له حسنة ، ومن همَّ بسيِّئة لم تُكتب عليه ، ومن عَمِلَها كتبت له واحدة ، ولم تُضاعَف عليه ، ومن عَمِلَ حسنة كانت له بعشر أمثالها ، ومن أنفقَ نفقة في سبيلِ الله ، كانت له بسبع مئة ضعف )) . وفي المعنى أحاديث أخر متعددة .
فتضمنت هذه النُّصوص كتابةَ الحسنات ، والسيِّئات ، والهمّ بالحسنةِ والسيِّئة ، فهذه أربعة أنواع : النوع الأول : عملُ الحسنات ، فتضاعف الحسنة بعشر أمثالها إلى سبع مئة ضعف إلى أضعاف كثيرةٍ ، فمُضاعفة الحسنة بعشر أمثالها لازمٌ لكلِّ الحسنات ، وقد دلَّ عليه قوله تعالى :  مَنْ جَاءَ بِالْحَسَنَةِ فَلَهُ عَشْرُ أَمْثَالِهَا  ( ) .
6:160 ผู้ใดที่นำความดีมา เขาก็จะได้รับสิบเท่าของความดีนั้น
وأما زيادةُ المضاعفةِ على العشر لمن شاء الله أن يُضاعف له ، فدلَّ عليه قوله تعالى :  مَثَلُ الَّذِينَ يُنْفِقُونَ أَمْوَالَهُمْ فِي سَبِيلِ اللهِ كَمَثَلِ حَبَّةٍ أَنْبَتَتْ سَبْعَ سَنَابِلَ فِي كُلِّ سُنْبُلَةٍ مِئَةُ حَبَّةٍ وَاللهُ يُضَاعِفُ لِمَنْ يَشَاءُ وَاللهُ وَاسِعٌ عَلِيمٌ  ( ) ، فدلَّت هذه الآيةُ على أنّ النَّفقة في سبيل الله تُضاعف بسبع مئة ضعف . وفي " صحيح مسلم " ( ) عن أبي مسعود ، قال : جاء رجلٌ بناقةٍ مخطومةٍ ، فقال : يا رسول الله ، هذه في سبيل الله ، فقال : (( لك بها يوم القيامة سبع مئة ناقة )) .
ชายคนหนึ่งจูงอูฐมาตัวหนึ่ง(มีเชือกคลุมอย่างดี ครบเครื่อง) และบอกกับท่านนบีว่า “โอ้ร่อซูลุลลอฮฺ นี่สำหรับในหนทางของอัลลอฮฺ” ท่านนบีตอบว่า “วันกิยามะฮฺไปเบิกได้เลย 700 ตัว”
 
وفي " المسند " ( ) بإسنادٍ فيه نظر عن أبي عُبيدة بن الجرّاح ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( من أنفق نفقةً فاضلةً في سبيل الله فبسبع مئةٍ ، ومن أنفق على نفسه وأهله ، أو عادَ مريضاً ، أو مازَ أذى ، فالحسنةُ بعشرِ أمثالها )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ผู้ใดที่บริจาคอันประเสริฐในหนทางของอัลลอฮฺ ถือว่าเจ็ดร้อยเท่า, และผู้ใดบริจาคแก่ตนเองหรือครอบครัว หรือช่วยเหลือคนป่วย หรือแยกสิ่งอันตราย(บนถนนอกไป, ทำความดีในสังคม) เป็นความดีสิบเท่า”  
وخرَّج أبو داود ( ) من حديث سهل بنِ معاذٍ عن أبيه ، عن النبيِّ  ، قال : (( إنَّ الصَّلاة ، والصِّيام ، والذِّكرَ يُضاعف على النَّفقة في سبيل الله بسبع مئة ضعف )) .
“แท้จริงการละหมาด ถือศีลอด ซิกรฺ คิดทวีคูนมากกว่าการบริจาคในหนทางของอัลลอฮฺ 700 เท่า”
وروى ابنُ أبي حاتم ( ) بإسناده عن الحسن ، عن عمران بنِ حُصين عن النَّبيِّ  ، قال : (( من أرسل نفقةً في سبيلِ الله ، وأقام في بيته ، فله بكلِّ درهم سبع مئة درهم ، ومن غزا بنفسه في سبيل الله ، فلهُ بكلِّ درهم سبع مئة ألف درهم )) ثم تلا هذه الآية :  واللهُ يُضاعِفُ لِمَن يَشاءُ ( ) .
“ผู้ใดที่ส่งค่าใช้จ่ายในหนทางของอัลลอฮฺ แต่ตนเองนั่งอยู่ในบ้าน ทุกดิรฮัมจะถูกตอบแทน 700 ดิรฮัม แต่ถ้าไปต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺเองและนำทรัพย์สินไปด้วย ทุกดิรฮัมจะถูกตอบแทน 7 แสนดิรฮัม”
 
وخرَّج ابن حبان في " صحيحه " ( ) من حديث عيسى بن المسيب، عن نافع، عن ابن عمر ، قال : لمَّا نزلتْ هذه الآية :  مَثَلُ الَّذِينَ يُنْفِقُونَ أَمْوَالَهُمْ فِي سَبِيلِ اللهِ كَمَثَلِ حَبَّةٍ أَنْبَتَتْ سَبْعَ سَنَابِلَ  ( ) ، قال رسولُ الله  : (( ربِّ زد أمتي )) ، فأنزل الله تعالى :  مَنْ ذَا الَّذِي يُقْرِضُ اللهَ قَرْضاً حَسَناً فَيُضَاعِفَهُ لَهُ أَضْعَافاً كَثِيرَةً  ( ) ، فقال : (( ربِّ زدْ أمَّتي )) ، فأنزل الله تعالى :  إِنَّمَا يُوَفَّى الصَّابِرُونَ أَجْرَهُمْ بِغَيْرِ حِسَابٍ  ( ) . وخرَّج الإمامُ أحمد ( ) من حديث عليِّ بن زيد بن جُدعان ، عن أبي عُثمان النَّهديِّ ، عن أبي هريرة ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( إنَّ الله ليُضاعِفُ الحسنةَ ألفي ألفِ حسنةٍ )) ثم تلا أبو هريرة :  وَإِنْ تَكُ حَسَنَةً يُضَاعِفْهَا وَيُؤْتِ مِنْ لَدُنْهُ أَجْراً عَظِيماً  ( ) . وقال : (( إذا قال الله أجراً عظيماً ، فمن يقدر قدره ؟ )) وروي عن أبي هريرة موقوفاً ( ) .
“แท้จริงอัลลอฮฺจะคิดความดีทวีคูน สองล้านความดี” หะดีษเมากูฟ (เป็นคำพูดของเศาะฮาบะฮฺ)
وخرَّج الترمذي ( ) من حديث ابن عمر مرفوعاً : (( من دخل السُّوقَ ، فقال : لا إله إلا الله وحدَه لا شريكَ له ، له الملك ، وله الحمدُ ، يُحيي ويُميتُ ، وهو حيٌّ لا يموت ، بيدِه الخيرُ ، وهو علي كلِّ شيءٍ قديرٌ ، كتب اللهُ له ألفَ ألفِ حسنةٍ ، ومحا عنه ألفَ ألفِ سيِّئة ، ورفع له ألفَ ألفِ درجةٍ )) .
หะดีษผลบุญของการซิกรุลลอฮฺในตลาด – เฎาะอีฟ
 
คำถาม : การฉลองวันเด็ก/วันครู, สะพานอัศศิร้อฏ
 

 

icon4
WCimage
3701