หะดีษที่ 2/6 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อัลอิหฺซาน 1)

Submitted by dp6admin on Wed, 28/11/2018 - 22:59
หัวข้อเรื่อง
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 8 หะดีษที่ 2 ภาค 4
- ความหมายของ "อัลอิหฺซาน"
- การตอบแทนของมุหฺสินีน และการกีดกั้นผู้ปฏิเสธ (เป็นสิ่งที่ตรงข้ามกัน) جزاء المحسنين وحرمان الكافرين
- "หากมิได้เห็นพระองค์ ก็แท้จริงพระองค์เห็นท่าน" (แปลว่าอะไร) فإنْ لم تكن تراه فإنَّه يراك
- القرب من الله - ความใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ
วันที่บรรยาย
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

อิบนุก็อยยิม - คำพูดของคนยุคหลังไม่ค่อยมีบะรอกัต คำพูดคนยุคก่อนมีบะรอกัตมากกว่า
ทำไมต้องอธิบายละเอียด ใช้เวลานาน ?
 
الإحسان - อัลอิหฺซาน
- ตำแหน่ง "อัลอิหฺซาน" คือการประดับประดาความมุสลิมให้ดีที่สุด ให้สวยงาม
- มุสลิมที่มีอิหฺซาน (มุหฺซิน) เช่น ละหมาดอย่างสวยงาม มีคุชุอฺ เรียบร้อย

•    وأمَّا الإحسّانُ ، فقد جاءَ ذكرُه في القُرآنِ في مواضعَ : تارةً مقروناً بالإيمانِ ، وتارةً مقروناً بالإسلامِ ، وتارةً مقروناً بالتَّقوى ، أو بالعمل .
อัลอิหฺซาน ถุกระบุในอัลกุรอานหลายที่ บางครั้งระบุคู่กับอีมาน บางครั้งก็ระบุคู่กับอิสลาม บางครั้งก็ระบุพร้อมตักวา หรือกับการปฏิบัติ
•    فالمقرونُ بالإيمانِ : كقولِه تعالى : ﴿ إِنَّ الَّذِينَ آمَنُوا وَعَمِلُوا الصَّالِحَاتِ إِنَّا لا نُضِيعُ أَجْرَ مَنْ أَحْسَنَ عَمَلاً ﴾
18:30 แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธาและกระทำความดีทั้งหลาย เราจะไม่ให้การตอบแทนของผู้กระทำความดีสูญหายอย่างแน่นอน
•    والمقرونُ بالإسلام : كقوله تعالى : ﴿ بَلَى مَنْ أَسْلَمَ وَجْهَهُ للهِ وَهُوَ مُحْسِنٌ فَلَهُ أَجْرُهُ عِنْدَ رَبِّهِ ﴾
2:112 หาใช่เช่นนั้นไม่ ผู้ใดที่มอบใบหน้าของเขา ให้แก่อัลลอฮ์ และขณะเดียวกัน เขาก็เป็นผู้กระทำความดีแล้วไซร้ เขาจะได้รับรางวัลของเขา ณ ที่พระเจ้าของเขา
•    والمقرون بالتقوى : كقوله تعالى : ﴿ إِنَّ اللهَ مَعَ الَّذِينَ اتَّقَوْا وَالَّذِينَ هُمْ مُحْسِنُونَ﴾،

- มุหฺซินไม่ใช่ข้อบังคับ ใครที่ทำไม่ได้ ก็ไม่บาป เพราะแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกัน

جزاء المحسنين وحرمان الكافرين
การตอบแทนของมุหฺสินีน และการกีดกั้นผู้ปฏิเสธ (เป็นสิ่งที่ตรงข้ามกัน)

•    وقد يذكر الإحسان مفرداً كقوله تعالى : ﴿ لِلَّذِينَ أَحْسَنُوا الْحُسْنَى وَزِيَادَةٌ ﴾
"อัลอิหฺซาน" ถูกระบุเอกเทศในกุรอานคือ 10:26 สำหรับบรรดาผู้กระทำความดี จะได้รับความดี และได้เพิ่มขึ้นอีก 
- ผู้ที่ทำดีอย่างดี จะได้การตอบแทน และเพิ่มพูนให้อีก (ซิยาดะฮฺ,แถม)
•    ، وقد ثبت في " صحيح مسلم " عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - تفسيرُ الزِّيادةِ بالنّظرِ إلى وجهِ الله - عز وجل - في الجنة ، وهذا مناسبٌ لجعلِه جزاءً لأهلِ الإحسّانِ ؛ لأنَّ الإحسانَ هو أنْ يَعبُدَ المؤمنُ ربّه على وجهِ الحُضورِ والمُراقبةِ ،، فكانَ جزاءُ ذلك النَّظرَ إلى الله عياناً في الآخرة.
( المؤمنُ ربّه في على - ตัด في ออก)
ซิยาดะฮฺ คือ ให้เห็นพระพักตร์ของอัลลอฮฺ...
•    وعكس هذا ما أخبرَ الله تعالى به عَنْ جَزاءِ الكُفَّار في الآخرةِ : ﴿ إِنَّهُمْ عَنْ رَبِّهِمْ يَوْمَئِذٍ لَمَحْجُوبُونَ ﴾، وجعلَ ذلك جزاءً لحالهم في الدُّنيا ، وهو تراكُم الرَّانِ على قُلوبِهم ، حتّى حُجِبَتْ عن معرفتِهِ ومُراقبته في الدُّنيا ، فكان جزاؤُهم على ذلك أنْ حُجِبوا عن رُؤيته في الآخرة.
ผู้ปฏิเสธศรัทธา - จะถูกปิดบังไม่ให้เห็นอัลลอฮฺ (ในวันกิยามะฮฺ) 

فإنْ لم تكن تراه فإنَّه يراك
หากมิได้เห็นพระองค์ ก็แท้จริงพระองค์เห็นท่าน (แปลว่าอะไร)

•    قيل  إنّه تعليلٌ للأوَّل ، فإنَّ العبدَ إذا أُمر بمراقبة الله في العبادة ، واستحضارِ قُربِهِ مِنْ عبده ، حتى كأنَّ العبدَ يراه ، فإنَّه قد يشقُّ ذلك عليه ، فيستعين على ذلك بإيمانه بأنّ الله يراه ، ويطَّلعُ على سرِّه وعلانيته وباطنه وظاهره ، ولا يخفى عليه شيءٌ من أمره ، فإذا حقَّق هذا المقامَ ، سهُل عليه الانتقالُ إلى المقام الثاني ، وهو دوامُ التَّحديق بالبصيرة إلى قُربِ الله من عبدِه ومعيَّته، حَتّى كأنَّه يراه .
- เราต้องทำตัวให้อัลลอฮฺเห็นเรา แล้วเราจะสามารถเห็นอัลลอฮฺ
- จินตนาการอัลลอฮฺไม่ได้ ให้คิดถึงนิอฺมัต(ความโปรดปราน)ของพระองค์
فيستعين على ذلك -
- อัลลอฮฺทรงรู้ภายในและภายนอก ทั้งปกปิดและเปิดเผยของเรา

•    وقد فسَّر طائفةٌ من العُلماءِ المثل الأعلى المذكورَ في قوله - عز وجل - : ﴿ وَلَهُ الْمَثَلُ الأَعْلَى فِي السَّمَاوَاتِ وَالأَرْض ﴾ بهذا المعنى ، ومثلُهُ قولُه تعالى : ﴿ اللهُ نُورُ السَّمَاوَاتِ وَالأَرْضِ مَثَلُ نُورِهِ كَمِشْكَاةٍ فِيهَا مِصْبَاحٌ ﴾، والمراد : مثل نورِه في قلبِ المؤمن ، كذا قال أبيُّ بنُ كعبٍ وغيرُه مِنَ السَّلَف .
24:35 อัลลอฮ์ทรงเป็นดวงประทีปแห่งชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดิน อุปมาดวงประทีปของพระองค์เสมือนดังช่องตามผนังที่มีตะเกียง (ซูเราะตุนนูร)
- ช่องว่างในผนัง(มิชกาต)คือ หัวใจมุอฺมิน
แสงสว่างจากตะเกียง คือ แสงสว่างของอัลลอฮฺที่อยู่ในหัวใจมุอฺมิน
สรุป - มุอฺมินมองด้วยแสงสว่างของอัลลอฮฺ แสงสว่างของอัลลอฮฺจะอยู่ในหัวใจมุอฺมินด้วย อิสลาม อีมาน และอิหฺซาน

القرب من الله - ความใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ

•    القرب من الله  ﴿وَإِذَا سَأَلَكَ عِبَادِي عَنِّي فَإِنِّي قَرِيبٌ أُجِيبُ دَعْوَةَ الدَّاعِ إِذَا دَعَانِ ﴾ 
มุอฺมินใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ ไม่ต้องมีสื่อกลาง ขอจากอัลลอฮฺได้โดยตรง
- ฝากคนขอดุอาอฺที่มักกะฮฺได้ไหม ?

มีหะดีษมากมายที่ให้เราเตรียมความรู้สึกว่าใกล้ชิดกับอัลลอฮฺขณะทำอิบาดะฮฺ
وقد وردت الأحاديثُ الصَّحيحةُ بالنَّدب إلى استحضار هذا القُربِ في حال العباداتِ ، كقوله - صلى الله عليه وسلم - : (( إنَّ أحدَكم إذا قامَ يُصلِّي ، فإنَّما يُناجِي ربَّه ، أو ربَّه بينه وبينَ القبلةِ )) رواه البخاري. 
وقوله : (( يقولُ الله - عز وجل - : أنا مع ظنِّ عبدي بي ، وأنا معه حيث ذكرني ، فإن ذكرني في نفسه ، ذكرتُهُ في نفسي ، وإنْ ذكرني في ملأ ، ذكرته في ملأ خيرٍ منه ، وإنْ تقرّبَ منِّي شبراً ، تقرَّبتُ منه ذراعاً ، وإن تقرَّبَ منِّي ذراعاً ، تقرَّبتُ منه باعاً ، وإن أتاني يمشي ، أتيته هرولةً ))رواه البخاري.
 

WCimage
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 8 (หะดีษที่ 2/6 อัลอิหฺซาน)