ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 167 (หะดีษที่ 32/6)

Submitted by admin on Sat, 03/05/2014 - 10:11
หัวข้อเรื่อง
การก่อความเสียหายในการค้าขาย, สัญญาค้าขายที่เป็นโมฆะ, การค้าขายทาส การยกเลิกค้าทาสแบบอิสลาม, การก่อความเสียหายในการขุด (บ่อน้ำ, น้ำมัน, กุโบร์)
สถานที่
มัสยิด มูลนิธิสันติชน
วันที่บรรยาย
2 เราะญับ 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديث الثاني والثلاثون
عَنْ أبي سَعيدٍ الخُدريِّ رضي الله عنه : أنَّ النَّبيَّ صلى الله عليه وسلم ، قالَ :
(( لا ضَرَرَ ولا ضِرارَ ))
 
حديثٌ حَسَنٌ ، رَواهُ ابنُ ماجه والدَّارقطنيُّ وغيرهما مُسنداً ، ورواهُ مالكٌ في  " الموطإ " عَن عَمْرو بن يحيى ، عَنْ أَبيهِ ، عَنِ النَّبيِّ  صلى الله عليه وسلم مُرسلاً ، فأَسقط أبا سعِيدٍ ، وله طُرُقٌ يَقْوى بَعضُها بِبَعْضٍ .
 
อบูสะอี๊ด อัลคุดรีย์ รายงานจากท่านนบีว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
 
“ไม่มีความเสียหายใดๆ (คือไม่อนุญาตให้ก่อความเสียหายใดๆ) แก่ผู้อื่น และไม่มีความเสียหายซึ่งกันและกัน”
 

การก่อความเสียหายในการค้าขาย, สัญญาค้าขายที่เป็นโมฆะ
การค้าขายทาส การยกเลิกค้าทาสแบบอิสลาม
การก่อความเสียหายในการขุด (บ่อน้ำ, น้ำมัน, กุโบร์)
ومن أنواع الضرر في البيوع : التَّفريقُ بين الوالدةِ وولدها في البيع ، فإنْ كان صغيراً ، حَرُمَ بالاتفاق ، وقد رُوي عن النَّبيِّ  أنَّه قال : (( من فرَّق بين والدةٍ وولدِها ، فرَّق الله بينه وبين أحبَّته يوم القيامة )) ( ) ،
สัญญาซื้อขายที่ห้ามคือ แยกระหว่างแม่กับลูกในการขายทาส
หากลูกยังเล็กอยู่ต้องมีคนดูแล ท่านนบีกล่าวว่า “ผู้ใดที่แยกระหว่างแม่กับลูก วันกิยามะฮฺอัลลอฮฺจะแยกระหว่างเขากับผู้ที่เขารัก”
 
 فإنْ رضيت الأُمُّ بذلك ، ففي جوازه اختلافٌ ، ومسائل الضرر في الأحكام كثيرة جداً ، وإنَّما ذكرنا هذا على وجه المثال .
ยกเว้นกรณีที่แม่ยอม เช่น คนที่มาซื้อลูกฐานะดีเป็ฯคนดีกว่า แต่อุละมาอฺก็ยังขัดแย้งกันในกรณีนี้ มัสอะละฮฺ(ประเด็น)ต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดกับคนอื่นมีมากมาย
การก่อความเสียหาย 2 ประเภท
1- ความเสียหายที่ตนไม่ได้ประโยชน์ แต่ก่อความเสียหายแก่คนอื่น (ด้วยความสะใจหรืออยากให้เขาเดือดร้อน) กรณีนี้หะรอมชัดเจน
2- ผู้ก่อความเสียหายมีวัตถุประสงค์ที่ถูกต้อง เช่น ปฏิบัติต่อทรัพย์สินของตนเองในรูปแบบที่เกิดประโยชน์สำหรับเขา แต่มันก่อให้เกิดความเสียหายแก่คนอื่น หรือเขามีทรัพย์สินแต่ไม่ให้คนอื่นใช้เพื่อประหยัดของตนเอง แต่ทำให้คนอื่นเสียหาย
والنوع الثاني : أنْ يكون له غرضٌ آخرُ صحيحٌ ، مثل أنْ يتصرَّف في ملكه بما فيه مصلحةٌ له ، فيتعدَّى ذلك إلى ضرر غيرِه ، أو يمنع غيرَه من الانتفاع بملكه توفيراً له ، فيتضرَّر الممنوعُ بذلك .
1-ทำสิ่งที่ตนได้ประโยชน์ แต่ผู้อื่นเดือดร้อน เช่น เผาซังข้าวในนาตนเอง แต่ควันไปเข้าสวนคนอื่น หากทำแล้วเกิดความเสียหายกับผู้อื่นต้องชดใช้ 
หากเขาทำในสิ่งปกติ(ไม่ประหลาด) อุละมาอฺมี 2 ทัศนะ
فأما الأوَّل وهو التصرُّف في ملكه بما يتعدَّى ضررُه إلى غيره فإن كان على غير الوجه المعتادِ ، مثل أنْ يؤجِّجَ في أرضه ناراً في يومٍ عاصفٍ ، فيحترق ما يليه ، فإنَّه متعدٍّ بذلك ، وعليه الضَّمان ، وإنْ كان على الوجه المعتاد ، ففيه للعلماء قولان مشهوران :
أحدهما : لا يمنع من ذلك ، وهو قولُ الشَّافعي وأبي حنيفة وغيرهما .
1- หากทำในสิ่งปกติ ไม่ใช่เรื่องร้ายแรงหรือพิสดาร ก็ไปห้ามเขาไม่ได้
والثاني : المنع ، وهو قولُ أحمد ، ووافقه مالكٌ في بعض الصُّور ؛ 
فمن صُوَر ذَلِكَ : أن يفتح كُوَّةً في بنائه العالي مشرفةً على جاره ، أو يبني بناءً عالياً يُشرف على جاره ولا يسترُه ، فإنَّه يُلزم بستره ، نصَّ عليهِ أحمد ، ووافقه طائفةٌ من أصحاب الشافعي ، قالَ الروياني منهم في كتاب " الحلية " : يجتهد الحاكم في ذلك ، ويمنع إذا ظهر له التعنُّتُ ، وقصد الفساد ، قال : وكذلك القولُ في إطالة البناء ومنع الشمس والقمر .
2- ห้ามทำ เพราะทำให้เกิดความเสียหาย เป็นทัศนะของอิมามอะหมัด
 
ตัวอย่างกรณีที่ห้ามกระทำ เช่น เพื่อนบ้านสร้างบ้าน 1 ชั้น บ้านข้างๆ สร้างบ้านสูง เห็นภายในบ้านของเขา เห็นเอาเราะฮฺ บ้านที่สร้างทีหลังต้องปิดด้านที่หันไปทางบ้านของเพื่อนบ้าน
 
وقد خرَّج الخرائطي( ) وابنُ عدي( ) بإسنادٍ ضعيف( ) عن عمرو بن شعيب ، عن أبيه ، عن جده مرفوعاً حديثاً طويلاً في حقِّ الجار ، وفيه : (( ولا يستطيل عليهِ بالبناء فيحجبَ عنه الرِّيح إلاَّ بإذنه )) .
หะดีษที่สายรายงานอ่อน ท่านนบี บอกว่า  “ไม่อนุญาตให้ขึ้นอาคารใกล้เพื่อนบ้านโดยบังกระแสลม”
 
ومنها أن يحفرَ بئراً بالقرب من بئر جاره ، فيذهب ماؤها ، فإنَّها تُطَمُّ في ظاهر مذهب مالك وأحمد ، وخرّج أبو داود في " المراسيل " ( ) من حديث أبي قلابة ، قال : قال رسول الله  : (( لا تَضارُّوا في الحفر ، وذلك أن يحفرَ الرَّجلُ إلى جنبِ الرَّجل ليذهبَ بمائِه )) .
เพื่อนบ้านขุดบ่อน้ำ แล้วเราไปขุดบ่อน้ำชิดบ่อของเขา น้ำจากบ่อเขาก็จะไหลมาที่บ่อเรา
وخرّج أبو داود في " المراسيل " ( ) من حديث أبي قلابة ، قال : قال رسول الله  : (( لا تَضارُّوا في الحفر ، وذلك أن يحفرَ الرَّجلُ إلى جنبِ الرَّجل ليذهبَ بمائِه )) .
อัลมะรอซีล เป็นหนังสือของอิมามอบูดาวู้ดที่รวมหะดีษจากตาบิอีนที่สายรายงานที่ไม่ได้ผ่านเศาะฮาบะฮฺ  หะดีษหนึ่งในหนังสือเล่มนี้ ท่านนบีกล่าวว่า “พวกเจ้าทั้งหลายอย่าก่อความเสียหายขณะขุด"...
 

 

WCimage
167