หัวข้อเรื่อง
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 196
4-ตั้งใจทำบาป แต่ไม่ได้ทำ,
ตั้งใจทำบาปและพูดออกมา แต่ไม่ได้ทำ จะถือว่าเป็นความผิดหรือไม่,
ตั้งใจทำบาปและพยายามสุดความสามารถ แต่ไม่ได้ทำ ก็ถือว่าบาป,
- วางแผนและพูดด้วยว่าจะทำความผิด
- ตั้งใจทำผิด แต่ความตั้งใจอ่อนลง และไม่ได้ทำ
4-ตั้งใจทำบาป แต่ไม่ได้ทำ,
ตั้งใจทำบาปและพูดออกมา แต่ไม่ได้ทำ จะถือว่าเป็นความผิดหรือไม่,
ตั้งใจทำบาปและพยายามสุดความสามารถ แต่ไม่ได้ทำ ก็ถือว่าบาป,
- วางแผนและพูดด้วยว่าจะทำความผิด
- ตั้งใจทำผิด แต่ความตั้งใจอ่อนลง และไม่ได้ทำ
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
10 เราะบีอุ้ลอาคอร 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
21.50 mb
ความยาว
90.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
คลิ้กเพื่อรับฟัง/ดาวน์โหลด (คลิ้กขวา บันทึกเป็น.../Save as...)
วีดีโอ
รายละเอียด
الحديثُ السَّابِعُ والثلا ثون
عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ رضي اللهُ عنهما ، عن رسولِ اللهِ صلى الله عليه وسلم فِيْمَا يَرْوِيهِ عَنْ رَبِّهِ تَبَارَكَ وَتَعَالَى قَالَ :
(( إِنَّ اللهَ كَتَبَ الْحَسَنَاتِ وَالسَّـيِّئَاتِ ثُمَّ بَيَّنَ ذَلِكَ : فَمَنْ هَمَّ بِحَسَنَةٍ فَلَمْ يَعْمَلْهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ حَسَنةً كَامِلَةً ، وَإِنْ هَمَّ بِهَا فَعَمِلَهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ عَشْرَ حَسَنَاتٍ إِلَى سَبْعِ مِئَةِ ضِعْفٍ إِلَى أَضْعَافٍ كَثِيْرَةٍ ، وَإِنْ هَمَّ بِسَيِّـئَةٍ فَلَمْ يَعْمَلْهَا كَتَبَهَا اللهُ عِنْدَهُ حَسَنَةً كَامِلَةً ، وَإِنْ هَمَّ بِهَا فَعَمِلَهَا كَتَبَهَا اللهُ سَيَّـئَةً وَاحِدَةً )).
رَواهُ البُخارِيُّ ومُسلمٌ .
หะดีษที่ 37 การตอบแทนคุณงามความดี
จากอิบนุอับบาส ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้รายงานจากคำตรัสแห่งอัลลอฮฺ (ตะบาร่อกะ วะตะอาลา) ซึ่งตรัสว่า
“แท้จริง อัลลอฮฺได้ทรงบันทึก(ทำบัญชี)ไว้ซึ่งหะสะนาตและซัยยิอาต แล้วพระองค์ได้ทรงชี้แจง(อธิบาย)ดังนี้
ผู้ใดที่ตั้งใจทำความดีหนึ่งเรื่อง แล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกไว้เป็นความดีหนึ่งคะแนนเต็มๆ
แต่ถ้าตั้งใจทำ(ดี) แล้วทำจริง อัลลอฮฺจะบันทึกความดีสิบเท่าถึงเจ็ดร้อยเท่า ถึงหลายๆเท่า
แต่ถ้าหากตั้งใจทำความชั่ว แล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกเป็นความดี 1 คะแนนเต็มๆ
แต่ถ้าตั้งใจทำ(ชั่ว) แล้วทำจริง อัลลอฮฺจะบันทึกความชั่วเพียง 1 คะแนน
ในบันทึกของอิมามมุสลิม มีสำนวนเพิ่มเติมว่า
وفي رواية لمسلم زيادةٌ في آخر الحديث ، وهي : (( أو محاها الله ، ولا يَهلِكُ على الله إلاَّ هالكٌ )) .
"(คนที่ตั้งใจทำชั่วแล้วไม่ทำ อัลลอฮฺจะบันทึกความดี 1 คะแนนเต็ม) หรืออัลลอฮฺอาจจะลบล้าง, ใครจะหายนะด้วยการตอบแทนแบบนี้ ก็สมควรแล้ว"
4-ตั้งใจทำบาป แต่ไม่ได้ทำ
النوع الرابع : الهمُّ بالسَّيِّئات من غير عملٍ لها ، ففي حديث ابن عباس : أنَّها تُكتب حسنةً كاملةً ، وكذلك في حديث أبي هريرة وأنس وغيرهما ( ) : أنَّها تُكتَبُ حسنةً ،
จะถูกบันทึกเป็นคะแนนความดีสมบูรณ์ 1 ความดี
وفي حديث أبي هريرة قال : (( إنَّما تركها مِن جرَّاي )) يعني : من أجلي . وهذا يدلُّ على أنَّ المرادَ مَنْ قَدَرَ على ما همَّ به مِنَ المعصية ، فتركه لله تعالى ، وهذا لا رَيبَ في أنَّه يُكتَبُ له بذلك حسنة ؛ لأنَّ تركه للمعصية بهذا المقصد عملٌ صالحٌ .
“เพราะเขาละทิ้งความผิดเพื่อฉัน(อัลลอฮฺ)” นั่นหมายรวมถึงคนทีมีความสามารถจะทำความผิดนั้นได้และตั้งใจจะทำ แต่ก็ไม่ได้ทำ จึงจะถูกบันทึกเป็นความดี
- ทิ้งความผิด ด้วยความกลัวมนุษย์
فأمَّا إن همَّ بمعصية ، ثم ترك عملها خوفاً من المخلوقين ، أو مراءاةً لهم ، فقد قيل : إنَّه يُعاقَبُ على تركها بهذه النيَّة ؛ لأنَّ تقديم خوفِ المخلوقين على خوف الله محرَّم .
- ทิ้งความผิดเพื่อโอ้อวด(ริยาอฺ)นั้นบาป
وكذلك قصدُ الرِّياءِ للمخلوقين محرَّم ، فإذا اقترنَ به تركُ المعصية لأجله ، عُوقِبَ على هذا الترك ، وقد خرَّج أبو نعيم ( ) بإسنادٍ ضعيف عن ابن عباس ، قال : يا صاحب الذَّنب ، لا تأمننَّ سوءَ عاقبته ، ولمَا يَتبعُ الذَّنبَ أعظمُ مِنَ الذَّنب إذا عملتَه ، وذكر كلاماً ،
อิบนุอับบาส - โอ้คนที่ทำผิดเอ๋ย เจ้าอย่ารู้สึกปลอดภัยจากผลที่ตามมาจากการทำความผิด, ขอยืนยันว่าสิ่งที่จะตามมาหลังความผิดนั้นย่อมใหญ่กว่าความผิด
وقال : وخوفُك من الريح إذا حرَّكت سترَ بابِك وأنت على الذَّنب ، ولا يضطربُ فؤادُك مِن نظرِ الله إليك ، أعظمُ مِنَ الذَّنب إذا عملته .وقال الفضيلُ بن عياض : كانوا يقولون : تركُ العمل للناس رياءٌ ، والعمل لهم شرك ( ) .
- วางแผนและพูดด้วยว่าจะทำความผิด
وأمَّا إنْ سعى في حُصولها بما أمكنه ، ثم حالَ بينه وبينها القدرُ ، فقد ذكر جماعةٌ أنَّه يُعاقَب عليها حينئذٍ لقول النَّبيِّ : (( إنَّ الله تجاوز لأمَّتي عمَّا حدَّثت به أنفُسَها ، ما لم تكلَّمْ به أو تعمل )) ( )
ท่านนบีกล่าวว่า “อัลลอฮฺยกโทษให้ประชาชาติของฉันในสิ่งที่ประชาชาติตั้งใจไว้ในใจ(พูดคุยกับตัวเอง ไม่มีใครรู้) ยกเว้นถ้าหากว่าออกมาเป็นวาจา หรือเป็นการกระทำ” (บันทึกโดยอิมามบุคอรีและมุสลิม)
ومن سعى في حُصول المعصية جَهدَه ، ثمَّ عجز عنها ، فقد عَمِل بها ، وكذلك قولُ النَّبيِّ : (( إذا التقى المسلمان بسيفيهما ، فالقاتِلُ والمقتولُ في النَّار )) ،
ท่านนบีกล่าวว่า “ถ้ามุสลิมสองคนเจอะกัน(ปรทะกัน)ด้วยดาบของเขาทั้งสอง และมีฝ่ายหนึ่งฆ่าอีกฝ่ายหนึ่ง นรกทั้งคู่”
قالوا : يا رسول الله ، هذا القاتلُ ، فما بالُ المقتول ؟! قال : (( إنَّه كان حريصاً على قتل صاحبه )) ( ) . وقوله : (( ما لم تكلَّم به ، أو تعمل )) يدلُّ على أنَّ الهامَّ بالمعصية إذا تكلَّم بما همَّ به بلسانه إنَّه يُعاقَبُ على الهمِّ حينئذٍ ؛ لأنَّه قد عَمِلَ بجوارحِه معصيةً ، وهو التَّكلُّمُ باللِّسان ، ويدلُّ على ذلك حديث الذي قال : (( لو أنَّ لي مالاً ، لعملتُ فيه ما عَمِلَ فلان )) يعني : الذي يعصي الله في ماله ، قال : (( فهما في الوزر سواءٌ )) ( ) .
ومن المتأخرين من قالَ : لا يُعاقَبُ على التكلُّم بما همَّ به ما لم تكن المعصيةُ التي همَّ بها قولاً محرَّماً ، كالقذف والغيبة والكذب ؛ فأمَّا ما كان متعلّقُها العملَ بالجوارح ، فلا يأثمُ بمجرَّدِ التكلُّم ما همَّ به ، وهذا قد يستدلُّ به على حديث أبي هريرة المتقدم : (( وإذا تحدث عبدي بأن يعمل سيِّئة ، فأنا أغفرُها له ما لم
يعملها )) ( ) .
“ถ้าบ่าวของเราพูดว่าจะทำความผิด เราจะอภัยโทษให้ต่อเมื่อยังไม่ได้ทำ”
ولكن المراد بالحديث هنا حديث النفس ، جمعاً بينه وبين قوله : (( ما لم تكلّم به أو تعمل )) ، وحديث أبي كبشة يدلُّ على ذلك صريحاً ، فإنَّ قول القائل بلسانه : (( لو أنَّ لي مالاً ، لعملتُ فيه بالمعاصي ، كما عمل فلانٌ )) ( ) ،
“ถ้ามีคนบอกว่า ถ้าฉันมีทรัพย์สินฉันจะทำชั่วเหมือนคนๆนั้น” ท่านนบีบอกว่า “สองคนนี้เหมือนกัน(ได้รับบาป)”
ليس هو العمل بالمعصية التي همّ بها ، وإنَّما أخبر عمَّا همَّ به فقط ممَّا متعلّقه إنفاقُ المالِ في المعاصي ، وليس له مالٌ بالكلّيّة ، وأيضاً ، فالكلام بذلك محرَّمٌ ، فكيف يكون معفوّاً عنه ، غيرَ مُعاقَبٍ عليه ؟
ตั้งใจทำผิด แต่ความตั้งใจอ่อนลง และไม่ได้ทำ
وأمّا إن انفسخت نِيَّتُه ، وفترَت عزيمتُه من غيرِ سببٍ منه ، فهل يُعاقبُ على ما همَّ به مِنَ المعصية ، أم لا ؟ هذا على قسمين :
1- ความตั้งใจนั้นเป็นเพียงความคิดชั่วที่แว้บมา
أحدهما : أن يكون الهمُّ بالمعصية خاطراً خطرَ ، ولم يُساكِنهُ صاحبه ، ولم يعقِدْ قلبَه عليه ، بل كرهه ، ونَفَر منه ، فهذا معفوٌّ عنه ، وهو كالوَساوس الرَّديئَةِ التي سُئِلَ النَّبيُّ عنها ، فقال : (( ذاك صريحُ الإيمان ))
ولمَّا نزل قولُه تعالى : وَإِنْ تُبْدُوا مَا فِي أَنْفُسِكُمْ أَو تُخْفُوهُ يُحَاسِبْكُمْ بِهِ اللهُ فَيَغْفِرُ لِمَنْ يَشَاءُ وَيُعَذِّبُ مَنْ يَشَاءُ ( ) ، شقَّ ذلك على المسلمين ، وظنُّوا دُخولَ هذه الخواطر فيه ، فنَزلت الآية التي بعدها ، وفيها قوله : رَبَّنَا وَلا تُحَمِّلْنَا مَا لا طَاقَةَ لَنَا بِهِ ( ) ، فبيَّنت أنَّ ما لا طاقةَ لهم به ، فهو غيرُ مؤاخذٍ به ، ولا مكلّف
به ، وقد سمى ابنُ عباس ( ) وغيرُه ( ) ذلك نسخاً ، ومرادُهم أنَّ هذه الآية أزالتِ الإيهامَ الواقعَ في النُّفوس من الآية الأولى ، وبيَّنت أنّ المرادَ بالآية الأُولى العزائم المصمَّمُ
عليها ، ومثل هذا كان السَّلفُ يسمُّونَه نسخاً .
2- ความตั้งใจที่ยั่งยืน วางแผนและคลุกคลีกับความตั้งใจนั้น แต่ภายหลังความตั้งใจลดลงไป – แบ่งได้อีก 2 ประเภท
القسم الثاني : العزائم المصممة التي تقع في النفوس ، وتدوم ، ويساكنُها صاحبُها ، فهذا أيضاً نوعان :
2.1 – ความตั้งใจเป็นเอกเทศ ที่มันบาปในตัวเอง เช่น สงสัยว่าอัลลอฮฺเอกะจริงหรือไม่ ฯลฯ แม้ภายหลังความสงสัยนั้นลดลงไป แต่ยังสงสัยอยู่ก็ถือว่าบาป
أحدهما : ما كان عملاً مستقلاً بنفسه من أعمالِ القلوب ، كالشَّكِّ في الوحدانية ، أو النبوَّة ، أو البعث ، أو غير ذلك مِنَ الكفر والنفاق ، أو اعتقاد تكذيب ذلك ، فهذا كلّه يُعاقَبُ عليه العبدُ ، ويصيرُ بذلك كافراً ومنافقاً . وقد رُوي عن ابن عباس أنَّه حمل قوله تعالى : وَإِنْ تُبْدُوا مَا فِي أَنْفُسِكُمْ أَو تُخْفُوهُ يُحَاسِبْكُمْ بِهِ اللهُ ( ) ، على مثل هذا ( ) .
وروي عنه حملُها على كتمان الشَّهادة لِقوله تعالى : وَمَنْ يَكْتُمْهَا فَإِنَّهُ آثِمٌ قَلْبُهُ ( ) .
ตั้งใจไม่เปิดเผยความจริงในฐานะสักขีพยาน รู้เห็นและถูกเรียกให้เป็นพยานคนนั้นผิด คนนี้ไม่ผิด แต่เขาตั้งใจไม่พูด ส่งผลให้คนผิดรอด และคนไม่ผิดโดนลงโทษ ความผิดของเขาเกิดจากการตั้งใจไม่บอกความจริง
ความชั่วทุกประการในหัวใจที่เกี่ยวกับหลักการอิสลาม ถ้าหัวใจเราสวนทางกับมันนั้นบาป เช่น ชอบในสิ่งที่อัลลอฮฺกริ้ว, โกรธในสิ่งที่อัลลอฮฺชอบ , ตะกับบร(ยโส), เห็นแก่ตัว (อัลอุจญฺบุ, ชอบในสิ่งที่ตัวเองทำ), อิจฉา (อัลหะสัด), คิดต่อคนอื่นในแง่ที่ไม่ดีโดยไม่มีเหตุผล,
ويلحق بهذا القسم سائرُ المعاصي المتعلِّقة بالقلوب ، كمحبة ما يُبغضهُ الله ، وبغضِ ما يحبُّه الله ، والكبرِ ، والعُجبِ ، والحَسدِ ، وسوءِ الظَّنِّ بالمسلم من غير موجِب ، مع أنَّه قد رُوي عن سفيان أنَّه قال في سُوء الظَّنِّ إذا لم يترتب عليه قولٌ أو فعلٌ ، فهو معفوٌّ عنه . وكذلك رُوي عنِ الحسن أنه قال في الحسد ، ولعلَّ هذا محمولٌ من قولهما على ما يجدُه الإنسانُ ، ولا يمكنهُ دفعُه ، فهو يكرهُه ويدفعُه عن نفسه ، فلا يندفعُ إلاَّ على ما يساكِنُه ، ويستروِحُ إليه ، ويُعيدُ حديثَ نفسه به ويُبديه .
2.2 - ความตั้งใจที่บาป แม้ว่ามันจะลดลงไปก็ตาม เช่น ซินา ขโมย ดื่มเหล้า ฆาตกรรม ใส่ร้ายคนอื่นว่าทำซินา ฯลฯ ถ้ายืนยันในความตั้งใจทำชั่วเหล่านี้ด้วยอวัยวะ มีมานะ วางแผน แต่ไม่มีสัญญาณภายนอกบ่งชี้ถึงสิ่งที่ตั้งใจไว้
والنوع الثاني : ما لم يكن مِنْ أعمال القلوب ، بل كان من أعمالِ الجوارحِ ، كالزِّنى ، والسَّرقة ، وشُرب الخمرِ ، والقتلِ ، والقذفِ ، ونحو ذلك ، إذا أصرَّ العبدُ على إرادة ذلك ، والعزم عليه ، ولم يَظهرْ له أثرٌ في الخارج أصلاً .
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 185 views
WCimage
