ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 6 (หะดีษที่ 2/4)

Submitted by dp6admin on Wed, 28/11/2018 - 21:37
หัวข้อเรื่อง
หะดีษที่ 2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (7): หะดีษที่ 2 ภาค 3
ภาคปฏิบัติของอิสลามและอีมาน
دخول أعمال الجوارح الباطنة في مسمى الإسلام والإيمان
الأحاديث التي تفيد دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإسلام
دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإيمان
วันที่บรรยาย
ความยาว
83.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

ภาคปฏิบัติของอิสลามและอีมาน อิสลามไม่ใช่แค่เชื่อหรือศรัทธาเท่านั้น ต้องมีภาคปฏิบัติด้วย

دخول أعمال الجوارح الباطنة في مسمى الإسلام والإيمان
เข้าในอิสลามและอีมานด้วย ภาคปฏิบัติของอวัยวะภายใน (จิตใจ,หัวใจ)

- หัวใจ เชื่อ พูด และปฏิบัติด้วย

يدخل في أعمالِ الإسلامِ إخلاصُ الدِّين للهِ ، والنُّصحُ له ولعبادهِ ، وسلامةُ القلبِ لهم مِنَ الغِشِّ والحسدِ والحِقْدِ ، وتوابعُ ذلك مِنْ أنواع الأذى .
การเตรียมตะวักกุ้ล(มอบหมาย)ต่ออัลลอฮฺ
ويدخُلُ في مسمَّى الإيمانِ وجَلُ القُلوبِ مِنْ ذكرِ اللهِ ، وخشوعُها عندَ سماع ذكرِه وكتابه ، وزيادةُ الإيمانِ بذلك ، وتحقيقُ التوكُّل على اللهِ ، وخوفُ اللهِ سرَّاً وعلانيةً ، والرِّضا بالله ربّاً ، وبالإسلامِ ديناً ، وبمحمدٍ - صلى الله عليه وسلم - رسولاً ، 

واختيارُ تَلَفِ النُّفوسِ بأعظمِ أنواعِ الآلامِ على الكُفرِ ، واستشعارُ قُربِ الله مِنَ العَبدِ ، ودوامُ استحضارِهِ ، وإيثارُ محبَّةِ اللهِ ورسوله على محبّةِ  ما سواهما ، والمحبةُ في الله والبُغضُ في الله ، والعطاءُ له ، والمنعُ له ، وأنْ يكونَ جميعُ الحركاتِ والسَّكناتِ له ، وسماحةُ النُّفوسِ بالطَّاعةِ الماليَّةِ والبدنيَّةِ ، والاستبشارُ بعملِ الحسّنات ، والفرحُ بها ، والمَساءةُ بعملِ السَّيئاتِ والحزنُ عليها ، وإيثارُ المؤمنينَ لرسول الله - صلى الله عليه وسلم - على أنفسهم وأموالهم ، وكثرةُ الحياءِ ، وحسنُ الخلقِ ، ومحبَّةُ ما يحبُّه لنفسه لإخوانه المؤمنين ، ومواساةُ المؤمنينَ ، خصوصاً الجيران ، ومعاضدةُ المؤمنين ، ومناصرتهم ، والحزنُ بما يُحزنُهم .

ตะหฺกี๊ก เตรียมให้แท้จริง เตรียมให้พร้อม
นบีให้กล่าว "ร่อฎีตุบิลลาฮฺ..." ทุกวัน (อัซการเช้าเย็น)
เลือกหายนะ ด้วยความเจ็บปวด ดีกว่ากระทำสิ่งที่เป็นกุฟุร, สร้างความรู้สึกว่าอัลลอฮใกล้ชิดกับเรา รักอัลลอฮฺและร่อซูลมากกว่าผู้อื่น, รักโกรธเพื่ออัลลอฮฺ, ให้-งด เพื่ออัลลอฮฺ, เคลื่อนไหวหรือนิ่ง เพื่ออัลลอฮฺ, 

وسماحةُ النُّفوسِ بالطَّاعةِ الماليَّةِ والبدنيَّةِ 
ความเต็มใจในการปฏิบัติ(เชื่อฟัง)ตามคำสั่งที่อัลลอฮฺ ในเรื่องที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน(บริจาค), หรือเกี่ยวกับอวัยวะ(ร่างกาย)

ดีใจ(ยินดี)ในการทำความดี

والمَساءةُ بعملِ السَّيئاتِ والحزنُ عليها ، เสียใจเนื่องจากทำความชั่ว และเศร้าในการทำความชั่ว
ให้สิทธิแก่ท่านนบี มากกว่าสทรัพย์สินของตนเอง, ละอายให้มาก, การมีมารยาทดีงาม, สิ่งที่ตัวเองรักหรืออยากได้ ก็อยากให้พี่น้องมุอฺมินได้ด้วย, 
ช่วยเหลือมุอฺมินีน โดยเฉพาะเพื่อนบ้าน, สนับสนุนผู้ศรัทธา, เสียใจในสิ่งที่เขาเสียใจ
-- ทั้งหมดนี้คือภาคปฏิบัติของหัวใจ

الأحاديث التي تفيد دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإسلام
หะดีษที่จะสื่อความหมายว่า อะมั้ลภายในอยู่ใน "อิสลาม" - หะดีษยืนยันเนื้อหาข้างต้น

•    ففي " مسند الإمام أحمد "،و" النسائي " عن معاويةَ بنِ حَيْدَةَ ، قال : قلت : يا رسول الله ، أسألك بالذي بعثكَ بالحقِّ ، ما الذي بعثك به ؟ قال : (( الإسلام )) ، قلت : وما الإسلام ؟ قال : (( أنْ تُسلِمَ قلبَكَ لله ، وأنْ توجه وجهَك إلى الله ، وتُصلِّي الصلاةَ المكتوبة ، وتُؤدِّيَ الزكاة المفروضة )) ، وفي رواية له : قلت : وما آيةُ الإسلام ؟ قال : (( أنْ تقولَ : أسلمتُ وجهيَ للهِ ، وتخليتُ ، وتقيمَ الصلاةَ ، وتُؤتِي الزكاةَ ، وكلُّ مسلمٍ على مسلمٍ حرام)).
มุอาวิยะฮฺ "โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ฉันขอถามท่านด้วยสัจจะว่า อัลลอฮฺส่งท่านให้สอนอะไรบ้าง" 
สัญลักษณ์ของอิสลามคืออะไร ? "ท่านต้องกล่าวว่า ฉันมอบหมายและผินใบหน้าของฉันยังอัลลอฮฺ, ฉันด้ปลดมลทินทุกอย่างเพื่ออัลลอฮฺ ดำรงละหมาด ซะกาต เชื่อว่าเกียรติยศและศักดิ์ศรีของมุสลิมต่อมุสลิมเป็นสิ่งที่ต้องรักษา ห้ามละเมิด" 

•    وفي السُّنن عن جُبير بن مُطعم ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه قال في خُطبته بالخَيْفِ مِنْ مِنى : (( ثلاثٌ لا يُغِلُّ عليهنَّ قلبُ مسلم : إخلاصُ العمل لله ، ومُناصحةُ وُلاةِ الأمورِ، ولزومُ جماعةِ المسلمينَ، فإنّ دعوتَهُم تُحيطُ مِنْ ورائهم ))،
 فأخبرَ أنَّ هذه الثلاثَ الخصالَ تنفي الغِلَّ عَنْ قلبِ المسلم .
ท่านนบีกล่าวคุฏบะฮฺในมัสยิดอัลค็อยรฺ ที่มินา (ขณะทำฮัจย) "3 ประการ (หากทำได้)หัวใจของมุอฺมินจะไม่มีความโกรธแค้น คือ ทำอะมั้ลใดให้บริสุทธิ์เพื่ออัลลอฮฺ(อิคลาศ), ตักเตือนผู้นำ, และร่วมอยู่กับจะมาอะฮฺ ที่ต้องรักษาจะมาอะฮฺ(ที่เป็นคนดี) เพราะคนดีๆ ดุอาอฺของเขาจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม"
อิบนุร่อจับ - การกระทำสิ่งเหล่านี้ เป็นสิ่งที่จะปลดมลทิน ความแค้นออกจากหัวใจของเรา

•     وفي " الصَّحيحين "  عن أبي موسى ، عَنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه سُئِلَ : أيُّ المسلمين أفضلُ ؟ فقال : (( مَنْ سلمَ المسلمونَ مِنْ لسانِهِ ويده )) .
ท่านนบีถูกถาม "มุสลิมชนิดใด ที่ประเสริฐที่สุด ?" ท่านนบีตอบว่า "มุสลิมที่ประเสริฐยิ่ง คือผู้ที่ผู้อื่นปลอดภัยจากลิ้นและมือของเขา"
- คนที่นิ่งเฉย ไ(ม่ทำชั่ว) ด้วยความกลัวอัลลอฮฺ

•    وفي " صحيح مسلم "  عن أبي هريرة - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( المسلم أخو المسلم ، فلا يظلمُهُ ، ولا يخذُلُهُ ، ولا يحقرُه . بحسب امرىءٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يحْقِرَ أخاهُ المُسلمَ ، كلُّ المسلمِ على المُسلمِ حرامٌ : دمُه ، ومالهُ ،وعِرضهُ)).
ท่านนบี "มุสลิมเป็นพี่น้องกัน..."

دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإيمان
อีมานคือภาคปฏิบัติภายใน และถือเป็นอะมั้ลแห่งอีมาน

•    { إِنَّمَا الْمُؤْمِنُونَ الَّذِينَ إِذَا ذُكِرَ اللهُ وَجِلَتْ قُلُوبُهُمْ وَإِذَا تُلِيَتْ عَلَيْهِمْ آيَاتُهُ زَادَتْهُمْ إِيمَاناً وَعَلَى رَبِّهِمْ يَتَوَكَّلُونَ الَّذِينَ يُقِيمُونَ الصَّلاةَ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنْفِقُونَ أُولَئِكَ هُمُ الْمُؤْمِنُونَ  حَقّاً }، وقوله : { أَلَمْ يَأْنِ لِلَّذِينَ آمَنُوا أَنْ تَخْشَعَ قُلُوبُهُمْ لِذِكْرِ اللهِ وَمَا نَزَلَ مِنَ الْحَقِّ وَلا يَكُونُوا كَالَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَابَ مِنْ قَبْلُ فَطَالَ عَلَيْهِمُ الأَمَدُ فَقَسَتْ قُلُوبُهُمْ }. وقوله : { وَعَلَى اللهِ فَلْيَتَوَكَّلِ الْمُؤْمِنُونَ }، وقوله : { وَعَلَى اللهِ فَتَوَكَّلُوا إِنْ كُنْتُمْ مُؤْمِنِينَ }، وقوله : { وَخَافُونِ إِنْ كُنْتُمْ مُؤْمِنِينَ }.
มุอฺมินรำลึกถึงอัลลอฮฺ(ฟังอัลกุรอาน)แล้วยำเกรงพระองค์ อีมานเพิ่มขึ้น
57:16 ยังไม่ถึงเวลาอีกหรือสำหรับบรรดาผู้ศรัทธาที่หัวใจของพวกเขาจะนอบน้อมต่อการรำลึกถึงอัลลอฮฺ และสิ่งซึ่งได้มีลงมาคือความจริง และพวกเขาอย่าได้เป็นเช่นบรรดาผู้ได้รับคัมภีร์มาแต่ก่อนนี้ แล้วช่วงเวลาได้เนิ่นนานเกินไปแก่พวกเขา ดังนั้นจิตใจของพวกเขาจึงแข็งกระด้าง และส่วนมากของพวกเขาจึงเป็นผู้ฝ่าฝืน 
- มอบหมายต่ออัลลอฮฺเท่านั้น

•     وفي " صحيح مسلم " عن العباس بن عبد المطَّلب ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال :(( ذاقَ طعم الإيمان مَنْ رضيَ بالله ربَّاً ، وبالإسلامِ ديناً ، وبمحمدٍ رسولاً )) .
ท่านนบี "ได้ลิ้มรสชาติของอีมานแล้ว ผู้ที่พอใจต่ออัลลอฮฺเป็นพระเจ้า พอใจที่อิสลามเป็นศาสนาของตน และพอใจที่ท่านนบีมุฮัมมัดเป็นร่อซูลของตน"

•     والرِّضا بربوبيَّة اللهِ يتضمَّنُ الرِّضا بعبادته وحدَه لا شريكَ له ، وبالرِّضا بتدبيره للعبد واختياره له . والرِّضا بالإسلام ديناً يقتضي اختياره على سائر الأديان . والرِّضا بمحمدٍ رسولاً يقتضي الرِّضا بجميع ما جاء به من عند الله ، وقبولِ ذلك بالتَّسليم والانشراحِ ، كما قال تعالى : { فَلا وَرَبِّكَ لا يُؤْمِنُونَ حَتَّى يُحَكِّمُوكَ فِيمَا شَجَرَ بَيْنَهُمْ ثُمَّ لا يَجِدُوا فِي أَنْفُسِهِمْ حَرَجاً مِمَّا قَضَيْتَ وَيُسَلِّمُوا تَسْلِيماً }.
"อัรริฎอ" ความพอใจในการเป็นพระเจ้าของอัลลอฮฺ จำต้องพอใจว่าเราอิบาดะฮฺต่อพระองค์ องค์เดียวเท่านั้น
ยอมรับในคำสั่งของอัลลอฮฺด้วยความปิติยินดี ยอมรับการตัดสินของท่านนบี

•    وفي " الصحيحين " عن أنسٍ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( ثلاثٌ مَنْ كُنَّ فيه وَجَدَ بهنَّ حلاوةَ الإيمان : مَنْ كَانَ الله ورسولُهُ أحبَّ إليه ممَّا سِواهما ، وأنْ يحبَّ المرءَ لا يحبُّه إلا للهِ ، وأنْ يكره أنْ يرجعَ إلى الكُفرِ بعدَ إذْ أنقذهُ الله منه كما يكرهُ أنْ يُلقى في النار)). وفي رواية : (( وجد بهنّ طعمَ الإيمانِ)) ، وفي بعض الرِّوايات : (( طعمَ الإيمانِ وحلاوتَه)).
3 ประการ ใครมีจะลิ้มรสความหวานของอีมานคือ อัลลอฮฺและร่อซูลเป็นที่รักของเขามากกว่าผู้อื่น, รักคนหนึ่งคนใดเพื่ออัลลอฮฺเท่านั้น, เกลียดที่จะกลับไปในการกุฟรฺ เสมือนเกลียดที่จะถูกโยนเข้าไฟนรก

من الأعمال الصالحة الداخلة في الإيمان
การกระทำที่เข้าในเครือข่ายของอีมาน

•    وفي " الصحيحين عن أنسٍ ، عَنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا يؤمن أحدُكم حتّى أكونَ أحبَّ إليه من ولدِهِ ، ووالدهِ ،  النَّاس أجمعينَ )) ، وفي رواية : (( مِنْ أهلهِ ، ومالهِ ، والنَّاس أجمعينَ)) .
ท่านนบีกล่าวว่า "คนหนึ่งคนใดในพวกเจ้าจะไม่ศรัทธา จนกว่าฉัน(มุฮัมมัด)เป็นที่รักยิ่งสำหรับเขา มากกว่าลูก มากกว่าบิดามารดา มากกว่ามนุษย์ทั้งหลาย"

•    وفي " مسند الإمام أحمد "(عن أبي رزين العُقيليّ قال : قلتُ : يا رسول الله، ما الإيمانُ ؟ قال : (( أنْ تشهدَ أنْ لا إله إلاَّ الله وحدَه لا شريك له ، وأنَّ محمداً عبدُه ورسولُه ، وأنْ يكونَ الله ورسولُهُ أحبَّ إليكَ ممّا سواهُما ، وأنْ تحترِقَ في النار أحبُّ إليكَ مِنْ أنْ تُشركَ باللهِ شيئاً وأنْ تحبَّ غيرَ ذي نسبٍ لا تُحبُّهُ إلا لله ، فإذا كُنتَ كذلك ، فقد دخَلَ حبُّ الإيمانِ في قلبكَ كما دخلَ حبُّ الماءِ للظمآنِ في اليومِ القائظِ )) .
อบีร่อซีน ถามท่านนบีว่า "อีมานคืออะไร" นบีตอบว่า อีมานคือการกล่าวกะลีมะฮฺ ไม่มีภาคีกับอัลลอฮฺ ....
รักพี่น้องมุสลิมเพื่ออัลลอฮฺ... ถ้าเป็นเช่นนี้ ความรักต่ออีมานได้เข้าในหัวใจท่านแล้ว เสมือนน้ำเข้าร่างกายคนกระหายในวันที่ร้อนจัด"

 قلت : يا رسول الله ، كيف لي بأنْ أعلمَ أنِّي مؤمنٌ ؟ قال : ما مِنْ أمَّتي - أو هذه الأُمَّة - عبدٌ يعملُ حسنةً ، فيعلم أنَّها حسنةٌ ، وأنَّ الله - عز وجل - جازيه بها خيراً  ولا يعملُ سيِّئةً ، فيعلم أنَّها سيِّئةٌ ، ويستغفرُ الله منها ، ويعلمُ أنَّه لا يغفر الذنوب إلا الله ، إلا وهو  مؤمنٌ)).
ฉันถามว่า "ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่าฉันเป็นมุอฺมิน"
ท่านนบีตอบว่า "ไม่มีใครในอุมมะฮฺของฉัน ที่เป็นบ่าวของอัลลอฮฺ ทำความดีประการหนึ่งและรู้ว่ามันคือความดี นำมาปฏิบัติและรู้ว่าอัลลอฮฺจะตอบแทนความดีนี้, หรือทำชั่วโดยรู้ว่าเป็นความชั่ว และขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺให้พ้นจากความชั่ว (เสียใจและเตาบัต) นี่คือสัญญาณของมุอฺมินที่แท้จริง"

•    وفي " المسند " وغيره عن عمرَ بن الخطاب - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ((1))، قال : (( مَنْ سرَّته حسنتُه ، وساءتْهُ سيِّئَتُه فهو مؤمنٌ )) . وفي " مُسندِ بقي بنِ مخلدٍ "عنْ رجلٍ سمعَ رسولَ اللهِ - صلى الله عليه وسلم - قال : (( صريحُ الإيمان إذا أسأتَ ، أو ظَلَمْتَ أحداً : عبدَكَ ، أو أَمَتَكَ ، أو أحداً مِنَ النّاسِ ، صُمتَ أو تَصَدَّقتَ ، وإذا أحسنتَ استبشرتَ )) .
ใครที่ความดีได้สร้างความยินดีแก่เขา และความชั่วทำให้เขาเสียใจ นั่งคือมุอฺมิน
หนังสือมุสนัดบะกีอฺ - ท่านนบีกล่าวว่า อีมานที่ชัดแจ้ง หากท่านทำผิดหรืออธรรมผู้อื่น  ท่านก็รีบไถ่โทษ ชดใช้ ถือศีลอด บริจาค ทำดีเพื่อลบล้างความผิด เมื่อทำดีก็ดีใจที่อัลลอฮฺให้ทำ นั่นเป็นสัญญาณว่ามีอีมาน

•    وفي " مُسند الإمام أحمد " عن أبي سعيدٍ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال: (( المؤمنونَ في الدُّنيا على ثلاثةِ أجزاء : الذين آمنوا باللهِ ورسولهِ ، ثم لم يَرتابُوا ، وجاهدوا بأموالهم وأنفسهم في سبيل الله ، والذي يأمنُهُ الناسُ على أموالهم وأنفسهم ، ثمّ الذي إذا أشرف على طمعٍ تركه لله - عز وجل - )) . 

มุอฺมินในดุนยานี้มี 3 ประเภทคือ
1- ศรัทธาต่ออัลลอฮฺและร่อซูล โดยไม่สงสัย ดิ้นรนต่อสู้ เสียสละทรัพย์สินและชีวิตในหนทางของอัลลอฮฺ
2- ผู้ที่มุอฺมินทั้งหลาย ผู้อื่นไว้วางใจ มอบทรัพย์สินและชีวิตของเขาให้ดูแลรักษาไว้
3- และบรรดามุอมินเมื่อหวงแหนสิ่งใด ก็ละทิ้งหรือบริจาคเพื่ออัลลอฮฺ

 وفيه أيضاً عن عمرو بن عبَسَة ، قال : قلت : يا رسول الله ، ما الإسلام ؟ قالَ : (( طيبُ الكلامِ ، وإطعامُ الطعام )) . قلت : ما الإيمانُ ؟ قال : (( الصبرُ والسَّماحةُ )) . قلت : أيُّ الإسلامِ أفضلُ ؟ قال : (( مَنْ سلمَ المُسلمونَ مِنْ لسانهِ ويدهِ )) . قلت : أيُّ الإيمانِ أفضلُ ؟ قال : (( خُلُقٌ حسنٌ )) .
อิสลามคือ คำพูดที่ดี, ให้อาหารแก่คนขัดสน, 
อีมานคือ อดทน และเต็มใจในการทำความดี
อิสลามที่ประเสริฐยิ่ง คือ อิสลามของมุสลิมที่คนอื่นปลอดภัยจากลิ้นและมือ

 

WCimage
204