เศาะฮี้ฮฺอัลบุคอรียฺ 22 (กิตาบุลอิลมฺ 4,บาบ 8-10)

Submitted by admin on Sat, 13/01/2018 - 20:51
หัวข้อเรื่อง
8- ผู้ที่นั่งที่สุดท้ายในมัจญฺลิสและผู้ใดเห็นที่นั่งว่างในวงประชุม(ฮัลเกาะฮฺ)ก็ให้นั่งตรงนั้น
--- หะดีษ 66 สามคนที่มามัจญฺลิสให้ความรู้
9- คำพูดที่ท่านนบีบอกว่า "มากเหลือเกิน คนที่รับรายงานหะดีษ(มุบัลละฆิน) มีความรู้มากกว่าคนที่รายงาน(คนที่ฟังหะดีษเอง)"
10- ความรู้ ก่อนพูดหรือปฏิบัติ
ความประเสริฐของความรู้, ความรู้เกิดจากการเรียนรู้, อย่ากลัวที่จะรายงานความรู้ 
จงเป็นร็อบบานีย์
สถานที่
มุศ็อลลา White Space
วันที่บรรยาย
25 เราะบีอุ้ลอาคอร 1439
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
69.00 mb
ความยาว
70.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด


بَابُ مَنْ قَعَدَ حَيْثُ يَنْتَهِي بِهِ المَجْلِسُ، وَمَنْ رَأَى فُرْجَةً فِي الحَلْقَةِ فَجَلَسَ فِيهَا
8- ผู้ที่นั่งที่สุดท้ายในมัจญฺลิสและผู้ใดเห็นที่นั่งว่างในวงประชุม(ฮัลเกาะฮฺ)ก็ให้นั่งตรงนั้น
(ไม่ให้แทรก บุกรุก หรือข้ามคนที่นั่งอยู่ก่อน ให้นั่งตรงที่ว่างอยู่

หะดีษ 66 สามคนที่มามัจญฺลิสให้ความรู้แล้วไม่มีที่นั่ง คนหนึ่งเห็นที่ว่างด้านใน เขาก็เข้าไปนั่ง เขาขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺ อัลลอฮฺก็คุ้มครองเขา, คนที่สอง นั่งด้นหลัง เพราะเขาอายไม่กล้าเข้าไปนั่งด้านใน อัลลอฮฺก็อายเขาที่จะไม่ตอบแทน(คือได้รับการตอบแทนอย่างแน่นอน), คนที่สาม หันหลังกลับออกไป อัลลอฮฺก็หันหลังให้เขา

بَابُ قَوْلِ النَّبِيِّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: «رُبَّ مُبَلَّغٍ أَوْعَى مِنْ سَامِعٍ»
9- คำพูดที่ท่านนบีบอกว่า "มากเหลือเกิน คนที่รับรายงานหะดีษ(มุบัลละฆิน) มีความรู้มากกว่าคนที่รายงาน(คนที่ฟังหะดีษเอง)"

หะดีษ 67 คำสั่งเสียของท่านนบีในวันอีด(เยามุนนะหรฺ) ให้เผยแพร่คุฏบะฮฺของท่านแก่คนที่ไม่ได้อยู่ ณ ที่นั้น "ห้ามละเมิดชีวิต ทรัพย์สิน และเกียรติยศ ของพี่น้องมุสลิม" (เป็นนโยบายปกป้องสิทธิมนุษยชน) คนที่ได้ฟัง จงบอกรายงานต่อแก่คนที่ไม่ได้อยู่ที่นี่

بَابٌ: العِلْمُ قَبْلَ القَوْلِ وَالعَمَلِ
10- ความรู้ ก่อนพูดหรือปฏิบัติ
เพราะอัลลอฮฺตรัสไว้ว่า {فَاعْلَمْ أَنَّهُ لاَ إِلَهَ إِلَّا اللَّهُ} [محمد: 19]

ความประเสริฐของความรู้
ความรู้เกิดจากการเรียนรู้
อย่ากลัวที่จะรายงานความรู้ 

وَإِنَّمَا العِلْمُ بِالتَّعَلُّمِ "
ความรู้เกิดจากการเรียนรู้

จงเป็นร็อบบานีย์ -ร็อบบานียฺ คือคนที่ตัรบียะฮฺ(สอน ขัดเกลา)ผู้คน ด้วยความรู้เล็กๆ ไปสู่ความรู้ใหญ่ๆ

(คือเริ่มจากเรื่องที่ปฏิบัติง่ายและมีความสำคัญก่อน เช่น ฟัรฎูอัยนฺก่อนฟัรฎูกิฟายะฮฺ)
อุละมาอฺแบ่งความรู้เป็น 2 ประเภท คือ ฟัรฎูอัยนฺ(ทุกคนต้องรู้),

ภาษาอาหรับ : http://shamela.ws/browse.php/book-1681/page-144

 

WCimage
เศาะฮี้ฮฺอัลบุคอรียฺ 22 (กิตาบุลอิลมฺ 4,บาบ 8-10)