หัวข้อย่อย (บาบ) 1 - ความประเสริฐของความรู้;
บาบ 2 - มารยาทในการให้ความรู้และรับความรู้
หัวข้อ 3 - كِتَابُ العِلْمِ - ความรู้
อิลมู คือความรู้ที่เกี่ยวกับกิตาบุลลอฮฺและซุนนะฮฺ, ความรู้ที่แท้จริงคืออะไร
بَابُ فَضْلِ العِلْمِ
หัวข้อย่อย (บาบ) 1 - ความประเสริฐของความรู้
นิยามของ "ความรู้" : ความรู้ทุกศาสตร์ที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ ถือเป็น "ความรู้" แต่อิสลามจะจำกัดความให้แคบกว่าคือ "ความรู้ที่ให้ตักวาต่ออัลลอฮฺ"
وَقَوْلِ اللَّهِ تَعَالَى: {يَرْفَعِ اللَّهُ الَّذِينَ آمَنُوا مِنْكُمْ وَالَّذِينَ أُوتُوا العِلْمَ دَرَجَاتٍ وَاللَّهُ بِمَا تَعْمَلُونَ خَبِيرٌ} [المجادلة: 11] وَقَوْلِهِ عَزَّ وَجَلَّ: {وَقُلْ رَبِّ زِدْنِي عِلْمًا} [طه: 114]
- มาตรฐานการรับหะดีษของอิมามบุคอรีย์และอิมามมุสลิม
- ผู้ใดหาหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะให้ทางสะดวกไปสู่สวรรค์
بَابُ مَنْ سُئِلَ عِلْمًا وَهُوَ مُشْتَغِلٌ فِي حَدِيثِهِ، فَأَتَمَّ الحَدِيثَ ثُمَّ أَجَابَ السَّائِلَ
บาบ 2 - มารยาทในการให้ความรู้และรับความรู้
หะดีษ 59 เมื่ออมานะฮฺถูกทิ้ง จงรอวันกิยามะฮฺ
ท่านนบีนั่งคุยกับผู้คนอยู่ มีชาวชนบทมาแล้วถามท่านนบีว่า "นบีครับ วันกิยามะฮฺ(อัซซาอะฮฺ)เมื่อไหร่ ?"
ท่านนบีได้ยินแล้วก็หันกลับไป (เศาะฮาบะฮฺก็คุยกันภายหลังว่านบีได้ยินรึเปล่า)
คุยกับเสร็จแล้ว นบีก็ถามว่า "ไหนล่ะ คนที่ถามเกี่ยวกับวันกิยามะฮฺ" ชายคนนั้นตอบว่า "ผมเองครับ"
ท่านนบีตอบว่า "เมื่ออมานะฮฺถูกทิ้ง จงรอวันกิยามะฮฺ" (อมานะฮฺต่ออัลอักซอ)
ตัวบทภาษาอาหรับ : https://sunnah.com/bukhari/3
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 226 views