หะดีษ 36-4 การแสวงหาความรู้

Submitted by admin on Fri, 19/12/2014 - 22:37
หัวข้อเรื่อง
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 190 (หะดีษที่ 36/4)
"...ผู้ใดขวนขวายหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะทรงให้ความสะดวกแก่เขาในหนทางไปยังสวรรค์,...",
- อุละมาอฺคือดารา (ดวงดาวนำทางสังคม)
- คุณค่าของความรู้, ความรู้ที่ยังประโยชน์,
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
27 เศาะฟัร 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
25.00 mb
ความยาว
104.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديثُ السَّادِسُ والثلا ثون 

عن أبي هُرَيْرَةَ رضي اللهُ عنه ، عَنِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم قَالَ : 
(( مَنْ نَفَّسَ عَنْ مُؤمِنٍ كُرْبَةً مِنْ كُرَبِ الدُّنْيا نَفَّسَ اللهُ عَنْهُ كُرْبَةً مِنْ كُرَبِ يَوْمِ الْقِيَامَةِ ،وَمَنْ يَسَّرَ عَلَى مُعْسِرٍ يَسَّرَ اللهُ عَلَيْهِ فِي الدُّنْيَا وَالآخِرَةِ ،وَمَنْ سَتَرَ مُسْلِما سَتَرَهُ اللهُ فِي الدُّنْيَا وَالْآخِرَةِ ،
وَاللهُ فِي عَوْنِ الْعَبْدِ مَا كَانَ الْعَبْدُ في عَوْنِ أَخِيْهِ . وَمَنْ سَلَكَ طَرِيْقاً يَلْتَمِسُ فِيهِ عِلْماً سَهَّلَ اللهُ لَهُ بِهِ طَرِيْقاً إِلَى الْجَنَّةِ .وَمَا اجْتَمَعَ قَوْمٌ فِي بَيْتٍ مِنْ بُيُوتِ اللهِ يَتْلُونَ كِتَابَ اللهِ وَيَتَدَارَسُونَهُ بَيْنَهُمْ ، إِلاَّ نَزَلَتْ عَلَيْهُمُ السَّكِينَةُ ، وَغَشِيَتْهُمُ الرَّحْمَةُ ، وَحَفَّتْهُمُ الْمَلاَئِكَةُ ، وذَكَرَهُمُ اللهُ فِيْمَنْ عِنْدَهُ . وَمَنْ بَطَّأَ بِهِ عَمَلُهُ لَمْ يُسْرِعْ بِهِ نَسَبُهُ )). رَوَاهُ مُسْلِمٌ بِهذَا اللَّفْظِ .
หะดีษที่ 36
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ จาก ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ผู้ใดก็ตามที่ช่วยให้มุสลิม(ผู้ศรัทธา)หลุดพ้นจากความทุกข์อย่างหนึ่งจากความทุกข์แห่งดุนยา อัลลอฮฺจะทรงปลดปล่อยเขา (จาก) ความทุกข์หนึ่งของความทุกข์ในวันกิยามะฮฺ
ผู้ใดช่วยเหลือผู้ที่กำลังยากลำบาก อัลลอฮฺจะทรงช่วยเขาทั้งในโลกนี้และอาคิเราะฮฺ
ผู้ใดปกปิดความอับอายของมุสลิม อัลลอฮฺจะทรงปิดความอับอายของเขาทั้งในโลกนี้และอาคิเราะฮฺ, อัลลอฮฺพร้อมที่จะช่วยเหลือบ่าวของพระองค์ ตราบที่บ่าวคนนั้นชอบที่จะช่วยเหลือพี่น้องของเขา,
ผู้ใดขวนขวายหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะทรงให้ความสะดวกแก่เขาในหนทางไปยังสวรรค์,
เมื่อพวกหนึ่งได้ชุมนุม ณ บ้านแห่งหนึ่งจากบ้านของอัลลอฮฺ (มัสยิด) ด้วยการอ่านคัมภีร์แห่งอัลลอฮฺ และการศึกษาหาความรู้กันและกัน ความสงบราบรื่นก็จะลงมายังพวกเขา และพวกเขาจะถูกปกคลุมด้วยความเมตตา (เราะหฺมัต) แห่งพระผู้เป็นเจ้า และจะถูกล้อมรอบด้วยมะลาอิกะฮฺ และอัลลอฮฺจะทรงระลึกถึงพวกเขาในกลุ่มผู้ที่อยู่ ณ พระองค์ (บรรดามะลาอิกะฮฺที่เฝ้าพระองค์) และผู้ใดปฏิบัติกิจการงานของเขาด้วยความเฉื่อย อัลลอฮฺจะไม่ทรงยกฐานะของเขาอย่างรวดเร็ว”
หะดีษทำนองนี้มีหลายสำนวน สำนวนนี้ตามบันทึกของมุสลิม

 
 قوله  : (( ومن سلك طريقاً يلتمسُ فيهِ علماً ، سهَّل الله لهُ به طريقاً إلى الجنَّة )) ،
"...ผู้ใดขวนขวายหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะทรงให้ความสะดวกแก่เขาในหนทางไปยังสวรรค์"
 
وقد روى هذا المعنى أيضاً أبو الدرداء عن النَّبيِّ  ( ) ، وسلوكُ الطَّريقِ لالتماس العلم يدخُلُ فيه سلوكُ الطَّريق الحقيقيِّ ، وهو المشيُ بالأقدام إلى مجالسِ العلماء ، ويدخلُ فيه سلوكُ الطُّرُق المعنويَّة المؤدِّية إلى حُصولِ العلمِ ، مثل حفظه ، ودارسته ، ومذاكرته ، ومطالعته ، وكتابته ، والتفهُّم له ، ونحو ذلك مِنَ الطُّرق المعنوية التي يُتوصَّل بها إلى العلم .
وقوله : (( سهَّل الله له به طريقاً إلى الجنَّة )) ، قد يُراد بذلك أنَّ الله يسهِّلُ له العلمَ الذي طلبَه ، وسلك طريقه ، وييسِّرُه عليه ، فإنَّ العلمَ طريق موصلٌ إلى الجنَّة ، وهذا كقوله تعالى :  وَلَقَدْ يَسَّرْنَا الْقُرْآنَ لِلذِّكْرِ فَهَلْ مِنْ مُدَّكِرٍ  ( ) . وقال بعض السَّلف ( ) : هل من طالبِ علمٍ فيعانَ عليه ؟ 
54:17  และโดยแน่นอน เราได้ทำให้อัลกุรอานนี้เป็นที่เข้าใจง่ายแก่การรำลึก แล้วมีผู้ใดบ้างที่รับข้อตักเตือนนั้น  
وقد يُراد أيضاً : أنَّ الله يُيسِّرُ لطالب العلم إذا قصد بطلبه وجه الله الانتفاعَ به والعملَ بمقتضاه ، فيكون سبباً لهدايته ولدخولِ الجنَّة بذلك .
เป็นไปได้ว่ามีความหมายว่า อัลลอฮฺจะอำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาที่ประสงค์เรียนรู้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ เพื่อพระพักตร์ของอัลลอฮฺ และแสวงหาประโยชน์จากความรู้และปฏิบัติตามความรู้นั้น อันจะนำมาซึ่งทางนำและการได้เข้าสวนสวรรค์
وقد يُيَسِّرُ الله لطالبِ العلم علوماً أُخَرَ ينتفع بها ، وتكونُ موصلة إلى الجنَّة ، كما قيل : من عَمِلَ بما عَلِمَ ، أورثه الله علم ما لم يعلم ( ) ،
สุภาษิต - ผู้ใดที่ปฏิบัติตามความรู้ อัลลอฮฺจะให้ความรู้ที่ไม่ได้แสวงหา
 
 وكما قيل : ثوابُ الحسنة الحسنة بعدَها ( ) ، وقد دلَّ على ذلك قولُه تعالى :  وَيَزِيدُ اللهُ الَّذِينَ اهْتَدَوْا هُدىً  ( ) ،
وقوله :  وَالَّذِينَ اهْتَدَوْا زَادَهُمْ هُدىً وَآتَاهُمْ تَقْوَاهُمْ  ( ) .
وقد يدخل في ذلك أيضاً تسهيلُ طريق الجنَّة الحِسيِّ يومَ القيامة - وهو الصِّراط - وما قبله وما بعدَه من الأهوال ، فييسر ذلك على طالب العلم للانتفاع به ، فإنَّ العلم يدلُّ على الله مِنْ أقرب الطرق إليه ، فمن سلك طريقَه ، ولم يُعرِّجْ عنه ، وصل إلى الله تعالى وإلى الجنَّةِ مِنْ أقرب الطُّرق وأسهلها فسَهُلَت عليه الطُّرُق الموصلةُ إلى الجنَّة كلها في الدنيا والآخرة ، فلا طريقَ إلى معرفة الله ، وإلى الوصول إلى رضوانه ، والفوزِ بقربه ، ومجاورته في الآخرة إلاَّ بالعلم النَّافع الذي بعثَ الله به رُسُلَه ، وأنزل به كتبه ، فهو الدَّليل عليه ، وبه يُهتَدَى في ظُلماتِ الجهل والشُّبَهِ والشُّكوك ، ولهذا سمّى الله كتابه نوراً ؛ لأنّه يُهتَدَى به في الظُّلمات .
 قال الله تعالى :  قَدْ جَاءكُمْ مِنَ اللهِ نُورٌ وَكِتَابٌ مُبِينٌ يَهْدِي بِهِ اللهُ مَنِ اتَّبَعَ رِضْوَانَهُ سُبُلَ السَّلامِ وَيُخْرِجُهُمْ مِنَ الظُّلُمَاتِ إِلَى النُّورِ بِإِذْنِهِ وَيَهْدِيهِمْ إِلَى صِرَاطٍ مُسْتَقِيمٍ  ( ).
 
ومثل النَّبيُّ  حَمَلَةَ العلم الذي جاء به بالنُّجوم التي يُهتدى بها في الظُّلمات ،
ففي " المسند "  عن أنس ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( إنَّ مثلَ العُلَماءِ في الأرض كمثلِ النُّجوم في السَّماء ، يُهتدى بها في ظُلُمات البرِّ والبحرِ ، فإذا انطمست النُّجوم ، أوشك أن تَضِلَّ الهُداة )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “แท้จริงอุปมาบรรดาผู้รู้บนโลกนี้ อุปมัยดังบรรดาดวงดาวในท้องฟ้า ด้วยดวงดาวเหล่านี้คนจะได้รับทางนำในความมืด ทั้งทางบกและทะเล
เมื่อดวงดาวถูกปกปิดซึ่งรัศมี(แสงสว่าง)ของมันแล้ว บรรดาผู้นำก็จะหลงผิด”
 
وما دام العلمُ باقياً في الأرض ، فالنَّاس في هُدى ، وبقاءُ العلم بقاءُ حَمَلَتِهِ ، فإذا ذهب حملتُه ومَنْ يقومُ به ، وقع الناسُ في الضَّلال ،
كما في " الصحيحين " ( ) عن عبد الله بن عمرو ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( إنَّ الله لا يقبِضُ العلمَ انتزاعاً ينتزعُه مِنْ صُدورِ الناسِ ، ولكن يقبضُه بقبض العُلماء ، فإذا لم يَبقَ( ) عالِمٌ ، اتَّخذ الناسُ رؤساءَ جُهّالاً ، فسئِلوا ، فأفتَوا بِغيرِ عِلمٍ ، فضلُّوا وأضلُّوا )) .
อัลลอฮฺจะไม่ยึดความรู้ด้วยการยึดจากหัวใจของผู้คน แต่จะด้วยการยึดวิญญาณผู้รู้ เมื่อสังคมไม่มีผู้รู้ คนก็จะหาผู้รู้มาเป็นผู้นำ เมื่อไม่มีผู้รู้ก็จะเอาผู้ไม่รู้มาเป็นผู้นำ ผู้ไม่รู้จะถูกถาม เขาจะฟัตวาโดยไม่มีความรู้ แล้วจะสร้างความหลงแก่คนอื่น”
 
"ความรู้" เป็นเส้นทางสั้นที่สุดไปสู่อัลลอฮฺในดุนยา
และเป็นเส้นทางไปสู่สวรรค์ที่สั้นที่สุดในวันกิยามะฮฺ
 
- อิมามชาฟิอีกับวากีอฺ - ความรู้เป็นนูร(รัศมี)ของอัลลอฮฺ และรัศมีของอัลลอฮฺจะไม่ให้แก่คนที่ทำบาป
คนที่อยู่กับความรู้จะมีบาปน้อยกว่าคนอื่น เพราะจะตรวจสอบตนเองด้วยความเข้าใจ
 

 

icon4
WCimage
หะดีษ 36-4 การแสวงหาความรู้