หลังรอมฎอน

1- ประเมินเวลาและภารกิจของแต่ละคนในแต่ละวัน เช่น บางคนอ่านอัลกุรอ่านได้วันละหลายๆหน้า แต่บางคนไม่สะดวกอ่านหลายหน้า

2- เลือกการงานที่เราถนัดและชอบทำ เพื่อให้เราทำได้อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ แม้จะเล็กน้อยก็ตาม เช่น ถนัดละหมาด ก็เน้นละหมาด , ถนัดอ่านกุรอ่าน ฟังบรรยาย ถนัดบริจาค…
:: 3 มาตรการตายตัว ::
1- เพิ่มความรู้อย่างต่อเนื่อง ศึกษาและรักษาเรื่องความรู้ ข้อมูล ความประเสริฐของการงานที่ดี เพิ่มการศึกษา เช่นฟังบรรยาย อ่านหนังสือ สอบถามผู้รู้-เพื่อน ใช้ช่องทางโซเชียลมีเดียให้มีประโยชน์
2- หาเพื่อนดีๆ ที่ชวนกันทำดี เป็นการเพิ่มกิจกรรมดีๆแบบไม่รู้สึกตัว…

ท่านนบีแนะนำว่า ตัวท่าานนบี(ผู้นำ/อิมาม)จะละหมาดวันศุกร์ ส่วนคนทั่วไป(ที่ละหมาดอีดแล้ว)จะไม่ละหมาดก็ได้ เพราะถือว่าการละหมาดวันอีดในช่วงเช้าก็เพียงพอแล้วสำหรับเขา (…

เทคนิคปรับตัวหลังเราะมะฎอน
1- มีความรู้ถึงความประเสริฐของการปฏิบัติตามหลักการศาสนา เช่น ผลบุญของการถือศีลอด การละหมาด ละหมาดกลางคืน ฯลฯ รู้แล้วก็จะอยากทำ
2. มีเพื่อนทำความดี
3. ทบทวนชีวิตสม่ำเสมอ
เตรียมตัวสำหรับเดือนเราะมะฎอนปีหน้า และรักษาความดีที่ทำให้เดือนเราะมะฎอนต่อไป เช่น ถือศีลอดหกวันเดือนเชาว้าล ละหมาดกิยามุลลัยลฺ ซิกรุลลอฮฺ บริจาค อ่านอัลกุรอาน ฯลฯ

โดย เชคริฎอ อะหมัด สมะดี, รายการทุกปัญหาชะรีอะฮฺมีคำตอบ 16/2/65

มีรายงานจากอะบีอัยยู๊บ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ แจ้งว่า ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า

مَنْ صَامَ رَمَضَانَ ثُمَّ…