หะดีษที่ 43 การแบ่งมรดก (6)

Submitted by admin on Sun, 02/04/2017 - 09:16
الحديث الثالث والأربعون หะดีษที่ 43
عَنِ ابن عبَّاسَ رضي الله عنهما قالَ : قَال رسولُ الله صلى الله عليه وسلم : (( ألحِقُوا الفَرائِضَ بأَهلِها ، فَمَا أَبقتِ الفَرائِضُ ، فَلأوْلَى رَجُلٍ ذَكَرٍ )) . خرَّجه البُخاريُّ ( ) ومُسلمٌ 
 
ท่านนบีกล่าวว่า "ให้มรดกแก่เจ้าของเขา ตามสิทธิที่กำหนด (กล่าวคือ เจ้าของที่อัลลอฮฺได้กำหนดไว้ในอัลกุรอาน ผู้มีสิทธิรับมรดกมีสองประเภท อัศฮาบุลฟะรออิด(เจ้าของมรดก ที่อัลลอฮฺระบุในอัลกุรอาน เช่น ลูก ภรรยา สามี) และ อะศอบะฮฺ (คือเครือญาติใกล้ตัว แต่่สิทธิไม่ได้ถูกระบุ จะได้ส่วนที่เหลือ ส่วนมากได้มากกว่า แต่บาطทีก็น้อยกว่า) , เมื่อแจกสิทธิตามกำหนดแล้ว(ฟะรออิด) ส่วนที่เหลือ ก็เป็นสิทธิของชายคนแรก(ที่ใกล้ชิดที่สุด"

 

วีดีโอ


 

ผู้มีสิทธิรับมรดก มี 2 ประเภท
1. อัศฮาบุลฟุรูฎ أصحاب الفروض คือ เจ้าของสิทธิที่ถูกระบุในอัลกุรอาน
2. อะศอบะฮฺ (อะศอบาต)  - العصبات

อะศอบะฮฺ (ญาติใกล้ชิดที่สุด เป็นชายเท่านั้น) มีหลักการเดียวกับวลี คือ เป็นชาย, เริ่มจากใกล้ที่สุดก่อนคือ พ่อ ปู่ ลูก พี่น้อง ลุง(อา)