หะดีษ 19-3 จงรักษาอัลลอฮฺไว้ แล้วจะพบอัลลอฮฺอยู่หน้าเจ้า

Submitted by dp6admin on Mon, 14/04/2025 - 15:33
หัวข้อเรื่อง
"เจ้าจงรักษาอัลลอฮฺไว้ แล้วเจ้าจะพบอัลลอฮฺอยู่ต่อหน้าเจ้า" อัลลอฮฺทรงร่วมอยู่กับผู้ศรัทธาอย่างไร ?
"จงรู้จักอัลลอฮฺในยามสุขสบาย แล้วพระองค์จะรู้จักท่านในยามที่ท่านเดือดร้อน" -- จะรู้จักอัลลอฮฺอย่างไร ?
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
ความยาว
71.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

وقوله  : (( احفظ الله تجده تجاهك )) ، 
ที่ท่านนบีกล่าวว่า "จงรักษาอัลลอฮฺไว้ แล้วจะพบอัลลอฮฺอยู่หน้าเจ้า" (ทิศที่เจ้าหันหน้าไป)

وفي رواية : (( أمامك )) معناه : أنَّ مَنْ حَفِظَ حُدودَ الله ، وراعى حقوقه ، وجد الله معه في كُلِّ أحواله حيث توجَّه يَحُوطُهُ وينصرهُ ويحفَظه ويوفِّقُه ويُسدده فـ  إِنَّ اللهَ مَعَ الَّذِينَ اتَّقَوْا وَالَّذِينَ هُمْ مُحْسِنُونَقال قتادة : من يتق الله يكن معه ، ومن يكن الله معه ، فمعه الفئة التي لا تُغلب ، والحارس الذي لا ينام ، والهادي الذي لا يضل .
อีกสำนวน "ต่อหน้า(ด้านหน้า)ของท่าน" หมายถึง ใครที่รักษาขอบเขตของอัลลอฮฺและสิทธิของอัลลอฮฺ เขาก็จะพบอัลลอฮฺอยู่ด้วยรักษาด้วยการล้อมกิจการของเขาด้วยพระองค์ และสนับสนุนเขา รักษาเขา ให้ทางนำแก่เขา ให้ข้อชี้แนะที่เด็ดขาดชัดเจนแก่เขา เนื่องจากว่าแท้จริงอัลลอฮฺอยู่กับผู้ที่ยำเกรงพระองค์และกระทำดีอย่างมีคุณภาพ
ท่านก่อตาดะฮฺ - ใครตักวาต่ออัลลอฮฺ พระองคฺก็อยู่กับเขา ใครที่อัลลอฮฺอยู่กับเขา เขาก็จะไม่อยู่กับกลุ่มที่ล้มเหลว และเสมือนอยู่กับยามที่ไม่นอนหลับเลย และอยู่กับผู้ให้ทางนำ ซึ่งไม่โอกาสจะหลงผิดเป็นอันขาด

كتبَ بعضُ السَّلف إلى أخٍ له : أمَّا بعد ، فإنْ كان الله معك فمن تخاف ؟ وإنْ كان عليك فمن ترجو ؟ 
สลัฟบางคนได้เขียนจดหมายของท่านว่า - ถ้าหากอัลลอฮฺอยู่กับท่าน ท่านจะกลัวใครล่ะ แต่ถ้าหากอัลลอฮฺอยู่ตรงข้ามท่าน ท่านจะหวังชัยชนะกับใครเล่า

وهذه المعيةُ الخاصة هي المذكورةُ في قوله تعالى لموسى وهارون :  لا تَخَافَا إِنَّنِي مَعَكُمَا أَسْمَعُ وَأَرَى، وقول موسى :  إِنَّ مَعِيَ رَبِّي سَيَهْدِينِ. 
وفي قول  النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم لأبي بكر وهما في الغار : (( ما ظَنُّكَ باثنين الله ثالثهما ؟ لا تحزن إنَّ الله معنا )) . 

การที่เรารักษาหลักการ(สิทธิ)ของอัลลอฮฺ แล้วจะพบอัลลอฮฺอยู่กับเรา ซึ่งการที่ "อัลลอฮฺอยู่กับเรา" นั้นมี 2 นัยยะ
1- อยู่ร่วมเป็นการเฉพาะ สนับสนุน รักษา ให้กำลังใจ
- ตอนที่นบีมูซาและนบีฮารูนไปพาฟิรเอานฺ อัลลอฮฺบอกว่า "เจ้าอย่ากลัว แท้จริงข้าอยู่กับเจ้าทั้งสอง ได้ยินและเห็น" และนบีมูซากล่าวว่า "อัลลอฮฺอยู่กับข้าพเจ้าและให้ทางนำแก่ข้าพเจ้า"
- ความโหดร้ายของฟิรเอานฺ, หญิงหวีผม(ผู้ศรัทธา)ของภรรยาฟิรเอานฺ ถูกลงโทษอย่างรุนแรง
- ท่านนบีกล่าวกับอบูบักรขณะหลบอยู่ในถ้้ำว่า "เจ้าคิดยังไงเมื่อสองคนอยู่ในถ้ำและอัลลอฮฺเป็นผู้ที่สาม จงอย่าเศร้า แท้จริงอัลลอฮฺทรงอยู่กับเรา"

2- ความรู้สึกของคนที่อัลลอฮฺอยู่กับเขา

فهذه المعيةُ الخاصةُ تقتضي النَّصر والتَّأييدَ ، والحفظ والإعانة بخلاف المعية العامة المذكورة في قوله تعالى :  مَا يَكُونُ مِنْ نَجْوَى ثَلاثَةٍ إِلاَّ هُوَ رَابِعُهُمْ وَلا خَمْسَةٍ إِلاَّ هُوَ سَادِسُهُمْ وَلا أَدْنَى مِنْ ذَلِكَ وَلا أَكْثَرَ إِلاَّ هُوَ مَعَهُمْ أَيْنَ مَا كَانُوا ، وقوله : وَلا يَسْتَخْفُونَ مِنَ اللهِ وَهُوَ مَعَهُمْ إِذْ يُبَيِّتُونَ مَا لا يَرْضَى مِنَ الْقَوْلِ، فإنَّ هذه المعية تقتضي علمَه واطِّلاعه ومراقبته لأعمالهم ، فهي مقتضيةٌ لتخويف العباد منه ،  والمعية الأولى تقتضي حفظ العبد وحياطَتَه ونصرَه ، فمن حفظ الله ، وراعى حقوقه ، وجده أمامَه وتُجاهه على كُلِّ حالٍ ، فاستأنس به ، واستغنى به عن خلقه ، كما في حديث : (( أفضلُ الإيمان أنْ يعلمَ العبدُ أنَّ الله معه حيث كان )) وقد سبق .

- มุนาฟิกแอบทำความผิด เพราะคิดว่าอัลลอฮฺไม่เห็น ทั้งๆที่อัลลอฮฺอยู่กับเขาตลอด (ทรงรู้ ทรงเห็น เฝ้าดูเขา)
- คนที่รักษาอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺอยู่กับเขา จะรู้สึกอบอุ่นคุ้นเคย และมั่นใจ ไม่ต้องการผู้คน ดังเช่นหะดีษที่ท่านนบีกล่าวว่า "อีมานที่ประเสริฐยิ่งคือการที่บ่าวรู้ว่าอัลลอฮฺทรงอยู่กับเขาในทุกสถานการณ์"

ورُويَ عن بُنان الحمَّال : أنَّه دخل البريَّةَ وحدَه على طريق تبوك ، فاستوحش ، فهتف به هاتف : لِمَ تستوحش ؟ أليس حبيبُك معك ؟  وقيل لبعضهم : ألا تستوحشُ وحدَك ؟ فقال : كيف أستوحش ، وهو يقول : (( أنا جليسُ مَنْ ذكرني ))، 

บุนาน อัลฮัมมาล (คนซอลิหฺ) เดินทางไกลในป่า รู้สึกกลัว ก็ได้ยินเสียง "ทำไมจึงรู้สึกเหงา ที่รักของท่านอยู่กับท่านมิใช่หรือ ?" (กะรอมัตวะลี)
- อัลลอฮฺทรงนั่งอยู่กับผู้ที่รำลึกถึงพระองค์

وقيل لآخر : نراكَ وحدكَ ؟ فقال : من يكن الله معه ، كيف يكونُ وحده ؟ ، وقيل لآخر : أما مَعَكَ مؤنسٌ ؟ قال : بلى ، قيل له : أين هو ؟ قال : أمامي ، وخلفي ، وعن يميني ، وعن شمالي ، وفوقي . وكان الشبلي ينشد : إذا نَحْنُ أدلَجْنَا وأنت أمامَنا  كَفَى لِمَطايَانا بذِكرك هاديا 
- ความเชื่อที่คลาดเคลื่อนของซูฟีตะรรีกัต
- ชิบลี (นักสมถะ) มีกลอนว่า - ถ้าเราอยู่ในยามกลางคืน โดยเดินทางอยู่ พระองค์ท่านอยู่เบื้องหน้า เรารู้สึกเพียงพอแล้วว่พระองค์จะเป็นทางนำให้เราไม่ให้หลง
------------------

30.43
قوله ﷺ : (( تعرَّف إلى الله في الرَّخاء ، يعرفكَ في الشِّدَّةِ ))
ท่านนบีกล่าวว่า "เจ้าจงรู้จักอัลลอฮฺในยามสุขสบาย แล้วพระองค์จะรู้จักท่านในยามที่ท่านเดือดร้อน" (บันทึกโดยอัตติรมิซียฺ)

 يعني : أنَّ العبدَ إذا اتَّقى الله ، وحَفِظَ حدودَه ، وراعى حقوقه في حال رخائه ، فقد تعرَّف بذلك إلى الله ، وصار بينه وبينَ ربه معرفةٌ خاصة ، فعرفه ربَّه في الشدَّة ، ورعى له تَعَرُّفَهُ إليه في الرَّخاء ، فنجَّاه من الشدائد بهذه المعرفة، وهذه معرفة خاصة تقتضي قربَ العبدِ من ربِّه ، ومحبته له، وإجابته لدعائه .
หมายถึง ถ้าบ่าวตักวา รักษาหลักการและสิทธิของอัลลอฮฺยามสุขสบาย ถือว่าได้สร้างความรู้จักคุ้นเคยกับอัลลอฮฺแล้ว อัลลอฮฺก็จะรู้จักเขาและพระองค์ก็จะช่วยเหลือยามเขาเดือดร้อน พระองค์ก็จะให้เขาพ้นจากภยันตรายร้ายแรงต่างๆ 

44.56
فمعرفة العبد لربه نوعان : การที่บ่าวจะรู้จักอัลลอฮฺมี 2 ประเภท

أحدُهما : المعرفةُ العامة ، وهي معرفةُ الإقرار به والتَّصديق والإيمان ، وهذه عامةٌ للمؤمنين 
1- การรู้จักทั่วๆไป เชื่อและศรัทธาในอัลลอฮฺ มุอฺมินทุกคนย่อมมีอยู่แล้ว

والثاني : معرفة خاصة تقتضي ميلَ القلب إلى الله بالكلية ، والانقطاع إليه ، والأُنس به ، والطمأنينة بذكره ، والحياء منه ، والهيبة له ، وهذه المعرفة الخاصة هي التي يدور حولها العارفون ، كما قال بعضهم : مساكينُ أهلُ الدُّنيا ، خرجوا منها وما ذاقوا أطيبَ ما فيها ، قيل له : وما هو ؟ قال : معرفةُ الله .

2- การรู้จักอัลลอฮฺเป็นพิเศษ - จำต้องมี 1 หัวใจลำเอียงไปข้างอัลลอฮฺทั้งหมด  2 อุทิศตัวเราเพื่อพระองค์ 3 รู้สึกคุ้นเคยสนิทสนมด้วยพระองค์ 4 รู้สึกสงบใจด้วยการรำลึกถึงพระองค์ 5 รู้สึกละอายต่อพระองค์ 6 ยำเกรง(หวาดกลัว)ต่อพระองค์
-- ตัวอย่างศ่อฮาบะฮฺที่เลือกอัลลอฮฺเหนือครอบครัวญาติพี่น้องผู้ปฏิเสธ เลือกข้างอัลลอฮฺและร่อซูล - มุศอับ อิบนุอุมัยรฺ, อบูอุบัยดะฮฺ อิบนุลจัรรอหฺ, 

ومعرفة الله أيضاً لعبده نوعان : อัลลอฮฺทรงรู้จักเรามีสองประการ

  معرفة عامة وهي علمه سبحانه بعباده ، واطِّلاعه على ما أسرُّوه وما أعلنوه ، كما قال :  وَلَقَدْ خَلَقْنَا الإنْسَانَ وَنَعْلَمُ مَا تُوَسْوِسُ بِهِ نَفْسُهُ، وقال :  هُوَ أَعْلَمُ بِكُمْ إِذْ أَنْشَأَكُمْ مِنَ الأَرْضِ وَإِذْ أَنْتُمْ أَجِنَّةٌ فِي بُطُونِ أُمَّهَاتِكُمْ.

والثاني : معرفة خاصة : وهي تقتضي محبته لعبده وتقريبَه إليه ، وإجابةَ دعائه ، وإنجاءه من الشدائد ، وهي المشار إليها بقوله فيما يحكى عن ربِّه : (( ولا يزالُ عبدي يتقرَّبُ إليَّ بالنَّوافِل حتَّى أُحِبَّه ، فإذا أحببتُه ، كنتُ سمعه الذي يسمع به ، وبصرَه الذي يُبصرُ به ، ويدَه التي يبطِشُ بها ، ورجلَه التي يمشي بها ، فلئن سألني ، لأُعطِيَنَّهُ ، ولئن استعاذني لأعيذنَّه )) ، وفي رواية : (( ولئن دعاني لأجيبنّه )) .
1.03
 

 

WCimage
หะดีษ 19-3 จงรักษาอัลลอฮฺไว้ แล้วจะพบอัลลอฮฺอยู่หน้าเจ้า