ตักวา คือการเชื่อฟังอัลลอฮฺ ไม่ฝ่าฝืนเลย รำลึกถึงอัลลอฮฺ ไม่ลืมเลย, ขอบคุณอัลลอฮฺ ไม่เนรคุณเลย
ความรู้รากฐานของตักวา
ตักวาเป็นคำสอนของอัลลอฮฺแก่บรรดานบี และเป็นคำสอนของนบีแก่ผู้คน
คำสั่งเสียของนบีและศ่อฮาบะฮฺในเรื่อง "ตักวา"
ใครยำเกรงอัลลอฮฺ ไม่เหงา
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 77
หะดีษที่ 18
จากอบูซัรรฺ (ญุนดุบ บินญุนาดะฮฺ) และอบูอับดุรเราะฮฺมาน (มุอ๊าซ บินญะบัล) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด และจงตามหลังความชั่วด้วยการทำดี มันย่อมลบล้างได้ และจงคบเพื่อนมนุษย์ด้วยกริยามารยาทที่ดีงาม”
หะดีษนี้บันทึกโดยติรมิซีย์ ซึ่งกล่าวว่าเป็นหะดีษหะซัน และในต้นฉบับบางเล่ม (ของติรมิซีย์) กล่าวว่า เป็นหะดีษหะซันเศาะฮีฮฺ
"จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด" - ประโยคนี้ใช้เตือนได้ทุกคนทุกวัย ผู้ศรัทธาหรือไม่ศรัทธา และควรจะเป็นประโยคติดปากผู้ศรัทธาทุกคน ใช้ได้ทุกสถานการณ์
401
وقال الحسنُ: ما زالت التقوى بالمتقين حتَّى تركوا كثيرًا من الحلال مخافة الحرام.
หะซัน อัลบัศรี - ตักวาจะจี้ตามบรรดามุตตะกีน ให้ละทิ้งสิ่งหะล้าล เพราะเกรงว่าสิ่งหะล้าลนั้นจะนำไปสู่หะรอม
وقال الثوري: إنما سُمُّوا متقينَ، لأنهم اتقوا ما لا يُتقى.
ถูกเรียกว่า "มุตตะกีน" เพราะเขาจะระมัดระวัง ปลีกตัวให้ห่างไกลจากสิ่งที่ไม่น่าระวัง
وقال موسى بنُ أَعْيَن: المتقون تنزَّهوا عن أشياء من الحلال مخافة أن يقعوا في الحرام، فسماهم الله متقين.
มุตตะกีนจะแสวงหาความบริสุทธิ์ ให้พ้นจากสิ่งที่อนุโลมให้ทำด้
وقد سبق حديثُ "لا يَبلغُ العبدُ أن يكونَ من المتقين حتى يدعَ ما لا بأسَ به حذرًا مما به بأس" (١). وحديث: "من اتقى الشبُهاتِ استبرأ لِدينه وعِرْضه" (٢).
บ่าวของอัลลอฮฺคนใดจะไม่บรรลุตำแหน่งมุตตะกีน จนกว่าจะได้ละทิ้งสิ่งที่ไม่ต้องทิ้ง เพื่อระวังสิ่งที่ต้องทิ้ง
وقال ميمونُ بنُ مِهران: المُتَّقي أشدُّ محاسبةً لنفسه من الشريكِ الشحيحِ لِشريكه.
คนมีตักวาจะคิดบัญชีกับนัฟซูตัวเองโดยเคร่งครัด มากกว่าผู้ที่ถือหุ้นด้วยกันอีก
وقال ابن مسعود في قوله تعالى: {اتَّقُوا اللَّهَ حَقَّ تُقَاتِهِ} [آل عمران: ١٠٢]، قال: أن يُطاع، فلا يُعصى، ويُذكر، فلا ينسى، وأن يُشكر، فلا يُكفر. وخرجه الحاكم مرفوعًا (٣) والموقوف أصحّ، وشكرُه يدخلُ فيه جميعُ فعل الطاعات.
ที่อัลลอฮฺกล่าวว่า "จงยำเกรงอัลลอฮฺอย่างแท้จริง" คือการเชื่อฟังอัลลอฮฺ ไม่ฝ่าฝืนเลย รำลึกถึงอัลลอฮฺ ไม่ลืมเลย, ขอบคุณอัลลอฮฺ ไม่เนรคุณเลย
402
ومعنى ذكره فلا ينسى: ذكر العبد بقلبه لأوامر الله في حركاته وسكناته وكلماته فيمتثلها، ولنواهيه في ذلك كله فيجتنبها.
وقد يغلِبُ استعمالُ التقوى على اجتناب المحرمات كما قال أبو هريرةَ وسئل عن التقوى، فقال: هل أخذتَ طريقًا ذا شوكٍ؟ قال: نعم، قال: فكيف صنعتَ؟ قال: إذا رأيت الشوك عدلْتُ عنه، أو جاوزته، أو قصرت عنه، قال: ذاك التقوى. وأخذ هذا المعنى ابنُ المعتز فقال:
- เส้นทางของสวรรค์เต็มไปด้วยความลำบาก เปรียบเสมือนทางเดินที่มีแต่หนาม หนามก็คือบาป ตักวาคือหลีกเลี่ยงจากหนามเหล่านั้น
- ต้องรู้ว่าอะไรคือสิ่งชั่ว และจะต้องระมัดระวัง
خلِّ الذُّنوبَ صَغِيرَها … وكَبيرَها فَهْوَ التُّقَى
واصْنَعْ كماشٍ فَوْقَ أَرْ … ضِ الشَّوْكِ يَحْذَرُ ما يَرَى
لا تَحْقِرَنَّ صَغِيرةً … إنَّ الجِبَالَ مِنَ الحَصَى
จงทิ้งเถิด บาป ทั้งเล็กและใหญ่ นั่นคือตักวา
จงปฏิบัติเหมือนคนๆหนึ่ง เดินบนเส้นทางที่มีหนาม ระวังมิให้ตนเองเหยียบหนามเป็นอันขาด
จงอย่าดูถูกบาปเล็ก แท้จริงภูเขานั้นมาจากก้อนหินเล็กๆ (ความผิดใหญ่เกิดจากการทำบาปเล็กบ่อยๆ)
หัวใจคนเหมือนผ้าขาว ทำความผิดเล็กบ่อยๆ เสมือนจุดดำที่แต้มบนผ้าขาว ทำบาปไปเรื่อยๆ จุดดำบนผ้าก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ผ้าก็เป็นสีดำ หัวใจก็เช่นกัน เสมือนขันคว่ำ ไม่รับอะไรทั้งน้ำ ทำชั่วโดยไม่รู้สึกผิด แยกดีชั่วไม่ออก
وأصلُ التقوى: أن يعلم العبدُ ما يُتقى ثم يتقي، قال عونُ بنُ عبد الله: تمامُ التقوى أن تبتغي علمَ ما لم يُعلم منها إلى ما عُلِمَ منها.
เนื้อแทัของตักวา ต้องศึกษาว่าอะไรที่ต้องระวัง และระมัดระวังมัน
- แสวงหาสิ่งที่ตนเองไม่รู้ เพื่อนำสิ่งที่เรารู้ไปปฏิบัติ
وذكر معروفٌ الكرخيُّ عن بكر بن خُنيسٍ، قال: كيف يكون متقيًا من لا يدري ما يَتَّقي؟ ثم قال معروفٌ: إذا كنت لا تحسن تتقي أكلتَ الربا، وإذا كنت لا تُحسن تتقي لقيتك امرأة فلم تَغُضَّ بصرك، وإذا كنت لا تُحسن تتقي وضعتَ سيفك على عاتقك، وقد قال النبي - صلى الله عليه وسلم - لمحمد بن مسلمة: "إذا رأيتَ أمتي قد اختلفَتْ، فاعمد إلى سيفِكَ فاضْرِبْ به أُحُدًا" ثم قال معروف: ومجلسي هذا لعله كان ينبغي لنا أن نتَّقِيَهُ، ثم قال: ومجيئكم معي من المسجد إلى هاهنا كان ينبغي لنا أن نتقيه، أليس جاء في الحديث: "إنه فتنة للمتبوع مذلة للتابع" (١)؟ يعني: مشي الناس خلف الرجل.
อัลลอฮฺบอกว่า "จงทิ้งดอกเบี้ยที่ยังเหลืออยู่" -- ต้องศึกษาว่าธุรกรรมอะไรมีดอกเบี้ยเกี่ยวข้องบ้าง, หรือธุรกรรมที่เราจะเข้าไปเกี่ยวข้อง มีดอกเบี้ยมั้ย เพื่อปฏิบัติคำสั่งนี้ได้ถูกต้อง
- มะอฺรูฟ อัลกัรคียฺ - ลูกสาวไปถามอิมามอะหมัดว่า ฉันรับจ้างเย็บเสื้อ กลางวันใช้แสงอาทิตย์ กลางคืนที่บ้านไม่มีไฟ จึงอาศัยไฟตะเกียงสาธารณะเพื่อเย็บ เสื้อที่จะเอาไปขายหะล้าลไหม ?
- ความรู้เป็นฐานของตักวา
- มีหะดีษจากท่านนบีว่าการเดินตามคน เป็นข้อลวงของผู้ถูกเดินตาม และเป็นความตกต่ำของผู้เดินตาม
ตักวาเป็นคำสอนของอัลลอฮฺแก่บรรดานบี และเป็นคำสอนของนบีแก่ผู้คน และเป็นคำสั่งเสียของบรรดาสลัฟต่อกัน
- ในคุฏบะตุลวะดาอฺ
وفي الجملة، فالتقوي هي وصيةُ الله لجميع خلقه، ووصيةُ رسول الله - صلى الله عليه وسلم - لأمته، وكان - صلى الله عليه وسلم - إذا بَعَثَ أميرًا على سَرِيَّةٍ أوصاه في خاصة نفسه بتقوى الله، وبمن معه من المسلمين خيرًا (١).
ولما خطبَ رسول الله - صلى الله عليه وسلم - في حَجَّةِ الوداع يومَ النحر وصى الناس بتقوى الله وبالسمع والطاعة لأئمتهم (٢).
ولما وَعَظَ الناسَ، وقالوا له: كأنَّها موعِظَةُ مودِّع فأوصنا، قال: "أوصيكمبتقوى اللهِ والسَّمْعِ والطَّاعة" (١).
وفي حديث أبي ذرٍّ الطويل الذي خرجه ابنُ حبان (٢) وغيره: قلتُ: يا رسولَ الله أوصني، قال: "أوصيكَ بتقوى الله، فإنه رأسُ الأمرِ كله".
وخرج الإِمام أحمد (٣) من حديث أبي سعيد الخدري، قال: قلتُ: يا رسولَ الله أوصني، قال: "أوصيك بتقوى الله، فإنه رأسُ كل شيء، وعليكَ بالجهاد، فإنه رهبانيةُ الإسلام"، وخرجه غيرُه ولفظه: قال: "علَيكَ بتقوى الله فإنها جِماع كل خيرٍ".
อบูสะอี๊ดบอกท่านนบี โปรดสั่งสอนฉันด้วย
ท่านนบี "ข้าพเจ้าสั่งให้ตักวาต่ออัลลอฮฺ เพราะมันเป็นสิ่งสำคัญของทุกกิจการที่เป็นความดี, จงดำรงไว้ซึ่งการจิฮาด เพราะมันคือการบวชในอิสลาม"
وفي الترمذي (٤) عن يزيد بن سلمة: أنه سأل النبي - صلى الله عليه وسلم - فقال: يا رسول الله إني سمعتُ منك حديثًا كثيرًا فأخَاف أن ينسيني أوَّلَه آخرُه، فحدثني بكلمة تكون جماعًا، قال: "اتَّق الله فيما تَعْلَمُ".
"จงยำเกรงอัลลอฮฺในสิ่งที่ท่านรู้" -- ยิ่งมีความรู้มาก ก็จะยิ่งตักวามาก
406
ولم يزل السلفُ الصالح يتَواصَوْنَ بها، كان أبو بكر الصديق رضي الله عنه يقول في خطبته: أما بعد، فإني أُوصيكم بتقوى الله، وأن تُثنوا عليه بما هو أهلُه، وأن تَخلِطُوا الرغبةَ بالرهبة، وتجمعوا الإلحافَ بالمسألة، فإن الله عز وجل أثنى على زكريا وأهل بيته، فقال: {إِنَّهُمْ كَانُوا يُسَارِعُونَ فِي الْخَيْرَاتِ وَيَدْعُونَنَا رَغَبًا وَرَهَبًا وَكَانُوا لَنَا خَاشِعِينَ} (١) [الأنبياء: ٩٥].
- ท่านอบูบักรขึ้นคุฏบะฮฺทุกครั้งจะเร่ิมด้วย "จงยำเกรงอัลลอฮฺ" จงสรรเสริญอัลลอฮฺดังที่พระองค์สมควรได้รับการสรรเสริญ, จงมีความหวังและความหวาดกลัวต่ออัลลอฮฺ และจนให้มีความต่ำต้อยขณะร้องขอต่ออัลลอฮฺ, แล้วได้ยกย่องท่านนบีซะกะรียาและครอบครัวว่า ครอบครัวของท่านรีบเร่งกันในการทำความดี -- ครอบครัวตัวอย่างที่ชักชวนกันทำความดี พ่อม่ชวนลูก ลูกชวนพ่อแม่
ولمَّا حضرته الوفاةُ، وعهد إلى عمر، دعاه، فوصَّاهُ بوصيةٍ، وأوَّلُ ما قالَ له: اتقِ الله يا عمر.
- เมื่อท่านอบูบักรใกล้เสียชีวิต ได้มีการเลือกอุมัรเป็นค่อลีฟะฮฺ คำสั่งเสียแรกของท่านต่ออุมัรคือ จงยำเกรงอัลลอฮฺ
وكتب عُمَرُ إلى ابنه عبد الله: أما بعدُ، فإني أوصيك بتقوى الله عز وجل، فإنه من اتقاه وقاه، ومَنْ أقرضه جزاه، ومَنْ شكره زاده، فاجعل التقوى نصبَ عينيك وجلاء قلبك.
واستعمل عليُّ بن أبي طالب رجلًا على سَريَّة، فقال له: أوصيك بتقوى الله الذي لا بُدَّ لك من لقائه، ولا منتهى لك دونَه وهو يَملِكُ الدنيا والآخرة.
وكتب عُمَرُ بنُ عبد العزيز إلى رجل: أوصيك بتقوى الله عز وجل التي لا يقبلُ غَيْرَها، ولا يَرحَمُ إلَّا أهلَها، ولا يُثيبُ إلا عليها، فإن الواعظين بها كثير، والعاملين بها قليل، جعلنا الله وإيَّاك من المتقين.
ولما وُلِّي خطب، فحَمِد الله، وأثنى عليه، وقال: أوصيكُم بتقوى الله عزَّ وجل، فإن تقوى الله عزَّ وجلَّ خَلفٌ من كلِّ شيءٍ، وليس من تقوى الله خَلَفٌ.
وقال رجل ليونس بن عُبيد: أوصني، فقال: أوصيك بتقوى الله والإحسانِ.
فإن الله مَعَ الذين اتَّقَوا والَّذينَ هُمْ مُحسِنُون.
وقال له رجل يُريدُ الحجّ: أوصني، فقال له: اتَّقِ الله، فمن اتقى الله، فلا وحشة عليه.
وقيل لرجل من التابعين عندَ موته: أوصنا، فقال: أوصيكم بخاتمة سورةِ
- การละทิ้งสิ่งหะรอมเพื่ออัลลอฮฺ (ทิ้งรายได้หะรอม) อัลลอฮฺจะทดแทนให้ในสิ่งที่ดีกว่า จะไม่ทิ้งเขา
- อัลลอฮฺทรงอยู่กับผู้มีตักวาและอิหฺซาน
- ใครยำเกรงอัลลอฮฺ ไม่เหงา
407
النحل: {إِنَّ اللَّهَ مَعَ الَّذِينَ اتَّقَوْا وَالَّذِينَ هُمْ مُحْسِنُونَ} [النحل: ١٢٨].
وكتب رجلٌ من السلف إلى أخٍ له: أوصيك بتقوى الله، فإنها أكرم ما أسررتَ، وأزينُ ما أظهرتَ، وأفضلُ ما ادَّخرتَ، أعاننا الله وإيَّاكَ عليها، وأوجب لنا ولك ثوابَها.
وكتب رجلٌ منهم إلى أخٍ له: أُوصيكَ وأنفسَنا بالتقوى، فإنها خيرُ زادِ الآخِرَةِ والأولى، واجعلها إلى كلِّ خيرٍ سبيلَك، ومِن كلِّ شرٍّ مهرَبك، فقد توكل الله عزَّ وجلَّ لأهلها بالنجاة مما يحذرون، والرزق من حيث لا يحتسبون.
وقال شعبة: كنتُ إذا أردتُ الخروجَ، قلتُ للحكم: ألك حاجةٌ، فقال: أوصيك بما أوصى به النبيُّ - صلى الله عليه وسلم - معاذَ بنَ جبل: "اتَّقِ الله حيثُما كُنتَ، وأتْبِع السَّيِّئة الحَسَنة تَمحُها، وخَالِقِ الناسَ بخُلُقٍ حَسَنٍ". وقد ثبت عن النبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنه كان يقولُ في دعائه: "اللَّهُمَّ إني أسألُكَ الهُدى والتُّقى والعِفَّةَ والغِنَى" (١).
وقال أبو ذرٍّ: قرأ رسولُ الله - صلى الله عليه وسلم - هذه الآية: {وَمَنْ يَتَّقِ اللَّهَ يَجْعَلْ لَهُ مَخْرَجًا} [الطلاق: ٢]، ثم قال: "يا أبا ذرٍّ لو أن النَّاسَ كُلَّهم أخذوا بها لكَفَتهم" (٢).
فقوله - صلى الله عليه وسلم -: "اتق الله حيثما كُنت" مراده في السير والعلانية حيث يراه الناسُ وحيث لا يرونه، وقد ذكرنا من حديث أبي ذر أن النبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قال له: "أُوصيك بتقوى الله في سرِّ أمرك وعلانيته"، وكان النبيُّ - صلى الله عليه وسلم - يقول في دعائه: "أسألك خشيتَك في الغَيبِ والشَّهادة" (٣) وخشية الله في الغيب والشهادة هي من المنجيات.
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 16 views
