- หะดีษนี้เป็นคำสั่งเสียที่รัดกุมครอบคลุมทั้งสิทธิของอัลลอฮฺและของมนุษย์
- ตักวาที่สมบูรณ์ ต้องทำหน้าที่วาจิบต่างๆ ครบถ้วน, ละเว้นสิ่งหะรอมและคลุมเครือ
- รู้ทางนำ -- เชื่อ ปฏิบัติ และเผยแพร่, เชื่อมั่นในสิ่งที่อัลลอฮฺประทานลงมา
หะดีษที่ 18
จากอบูซัรรฺ (ญุนดุบ บินญุนาดะฮฺ) และอบูอับดุรเราะฮฺมาน (มุอ๊าซ บินญะบัล) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด และจงตามหลังความชั่วด้วยการทำดี มันย่อมลบล้างได้ และจงคบเพื่อนมนุษย์ด้วยกริยามารยาทที่ดีงาม”
หะดีษนี้บันทึกโดยติรมิซีย์ ซึ่งกล่าวว่าเป็นหะดีษหะซัน และในต้นฉบับบางเล่ม (ของติรมิซีย์) กล่าวว่า เป็นหะดีษหะซันเศาะฮีฮฺ
หน้า 398
- หะดีษนี้เป็นคำสั่งเสียที่รัดกุมครอบคลุมทั้งสิทธิของอัลลอฮฺและของมุนษย์
“จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด"
- "ตักวา" คืออะไร ?
-- ป้องกันตัวจากนรก จากการลงโทษของอัลลอฮฺ จากการละอฺนัต, ไม่ประพฤติสิ่งที่ทำให้อัลลอฮฺโกรธกริ้ว
-- สำรวมตน
-- จิตภักดี
وأصلُ التقوى: أن يجعل العبدُ بينَه وبينَ ما يخافُه ويحذره وقايةً تقيه منه، فتقوى العبد لربه أن يجعل بينه وبينَ ما يخشاه من ربه من غضبه وسخطه وعقابه وقايةً تقيه من ذلك وهو فعلُ طاعته واجتنابُ معاصيه.
- รากฐานของ "ตักวา" บ่าวของอัลลอฮฺจะห่างไกลจากสิ่งที่เขากลัว การที่บ่าวของอัลลอฮฺตักวาต่อพระผู้อภิบาลของเขา ให้มีการป้องกันจากการโกรธกริ้ว การลงโทษของอัลลอฮฺ สิ่งที่ปกป้องนั้นก็คือ เชื่อฟังในสิ่งที่อัลลอฮฺใช้ และห่างไกล่สิ่งที่อัลลอฮฺห้าม
وتارة تُضافُ التقوى إلى اسم اللُهِ عز وجل، كقوله تعالى: {وَاتَّقُوا اللَّهَ الَّذِي إِلَيْهِ تُحْشَرُونَ} [المائدة: ٩٦] و [المجادلة: ٩]، وقوله: {يَاأَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا اتَّقُوا اللَّهَ وَلْتَنْظُرْ نَفْسٌ مَا قَدَّمَتْ لِغَدٍ وَاتَّقُوا اللَّهَ إِنَّ اللَّهَ خَبِيرٌ بِمَا تَعْمَلُونَ} [الحشر: ١٨]،
- ใช้ตักวากับพระนามของอัลลอฮฺ
5:96 และจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด ผู้ที่พวกเจ้าจะถูกรวบรวมนำไปสู่พระองค์
59:18 18โอ้บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย พวกเจ้าจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด และทุกชีวิตจงพิจารณาดูว่าอะไรบ้างที่ตนได้เตรียมไว้สำหรับวันพรุ่งนี้ (วันกิยามะฮฺ) และจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงรู้ดียิ่งในสิ่งที่พวกเจ้ากระทำ
فإذا أضيفت التقوى إليه سبحانه وتعالى، فالمَعنىَ: اتقوا سخطه وغضبه، وهو أعظم ما يتقى، وعن ذلك ينشأ عقابُه الدنيوي والأخروي، قال تعالى: {وَيُحَذِّرُكُمُ اللَّهُ نَفْسَهُ} [آل عمران: ٢٨]،
وقال تعالى: {هُوَ أَهْلُ التَّقْوَى وَأَهْلُ الْمَغْفِرَةِ} [المدثر: ٥٦]، فهو سبحانه أهل أن يُخشى ويُهاب ويُجل ويُعَظَّمَ في صدورِ عباده حتَّى يعبدوه ويُطيعوه، لما يستحقُّه من الإجلالِ والإكرامِ، وصفاتِ الكبرياءِ والعظمة وقوَّة البطش، وشِدَّةِ البأس. وفي الترمذيَ عن أنس عن النبيِّ - صلى الله عليه وسلم - في هذه الآية {هُوَ أَهْلُ التَّقْوَى وَأَهْلُ الْمَغْفِرَةِ} [المدثر: ٥٦] قال: "قال الله تعالى: أنا أهل أن اتَّقى، فمن اتَّقاني فلم يَجْعَل معي إلهًا آخر، فأنا أهلٌ أن أغفِرَ له" (١).
74:56 พระองค์เท่านั้นคือพระเจ้าแห่งการยำเกรง และพระเจ้าแห่งการให้อภัย
وتارةً تُضافُ التقوى إلى عقاب الله وإلى مكانه، كالنار، أو إلى زمانه، كيوم القيامة، كما قال تعالى: {وَاتَّقُوا النَّارَ الَّتِي أُعِدَّتْ لِلْكَافِرِينَ} [آل عمران: ١٣١]، وقال تعالى: {فَاتَّقُوا النَّارَ الَّتِي وَقُودُهَا النَّاسُ وَالْحِجَارَةُ أُعِدَّتْ لِلْكَافِرِينَ} [البقرة: ٢٤]، وقال تعالى: {وَاتَّقُوا يَوْمًا تُرْجَعُونَ فِيهِ إِلَى اللَّهِ} {وَاتَّقُوا يَوْمًا لَا تَجْزِي نَفْسٌ عَنْ نَفْسٍ شَيْئًا} [البقرة: ٤٨، ١٢٣].
- บางครั้งอัลลอฮฺจะใช้ "ตักวา" กับการลงโทษ เวลาหรือสถานที่แห่งการลงโทษ(นรก)
- ชะฟาอะฮฺในวันกิยามะฮฺ, ชะฟาอะฮฺของท่านนบี ﷺ
- อิมามชาฟิอี มีเชื้อสายของท่านนบี
- "ใครที่อะมั้ลของเขาชักช้า สายตระกูลของเขาไม่สามารถช่วยเหลือได้"
ويدخل في التقوى الكاملة فعلُ الواجبات، وتركُ المحرمات والشبهات، وربما دَخَلَ فيها بعد ذلك فعلُ المندوبات، وتركُ المكروهات، وهو أعلى درجات التقوى،
31 - ตักวาที่สมบูรณ์ ต้องทำหน้าที่วาจิบต่างๆ ครบถ้วน, ละเว้นสิ่งหะรอมและคลุมเครือ ถัดจากนั้นคือการทำสิ่งอาสา (ซุนนะฮฺ, มุสตะฮับ) ละเว้นสิ่งมักรูหฺ (ไม่หะรอมชัดๆ) ซึ่งคือสูงสุดของตักวา
قال الله تعالى: {ذَلِكَ الْكِتَابُ لَا رَيْبَ فِيهِ هُدًى لِلْمُتَّقِينَ (٢) الَّذِينَ يُؤْمِنُونَ بِالْغَيْبِ وَيُقِيمُونَ الصَّلَاةَ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنْفِقُونَ (٣) وَالَّذِينَ يُؤْمِنُونَ بِمَا أُنْزِلَ إِلَيْكَ وَمَا أُنْزِلَ مِنْ قَبْلِكَ وَبِالْآخِرَةِ هُمْ يُوقِنُونَ} [البقرة: ١ - ٤].
ภาคปฏิบัติของผู้มีตักวาคือ - "2:2-4 คัมภีร์นี้ ไม่มีความสงสัยใด ๆ ในนั้น เป็นคำแนะนำสำหรับบรรดาผู้ยำเกรงเท่านั้น คือบรรดาผู้ศรัทธาต่อสิ่งเร้นลับ และดำรงไว้ซึ่งการละหมาด และส่วนหนึ่งจากสิ่งที่เราได้ให้เป็นปัจจัยยังชีพแก่พวกเขานั้น พวกเขาก็บริจาค และบรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อสิ่งที่ถูกประทานลงมาแก่เจ้า และสิ่งที่ถูกประทานลงมาก่อนเจ้า และต่อวันปรโลกนั้นพวกเขาเชื่อมั่น"
وقال تعالى: {وَلَكِنَّ الْبِرَّ مَنْ آمَنَ بِاللَّهِ وَالْيَوْمِ الْآخِرِ وَالْمَلَائِكَةِ وَالْكِتَابِ وَالنَّبِيِّينَ وَآتَى الْمَالَ عَلَى حُبِّهِ ذَوِي الْقُرْبَى وَالْيَتَامَى وَالْمَسَاكِينَ وَابْنَ السَّبِيلِ وَالسَّائِلِينَ وَفِي الرِّقَابِ وَأَقَامَ الصَّلَاةَ وَآتَى الزَّكَاةَ وَالْمُوفُونَ بِعَهْدِهِمْ إِذَا عَاهَدُوا وَالصَّابِرِينَ فِي الْبَأْسَاءِ وَالضَّرَّاءِ وَحِينَ الْبَأْسِ أُولَئِكَ الَّذِينَ صَدَقُوا وَأُولَئِكَ هُمُ الْمُتَّقُونَ} [البقرة: ١٧٧].
2:177 แต่ทว่าคุณธรรมนั้นคือผู้ที่ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ และวันปรโลก และศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺ ต่อบรรดาคัมภีร์ และนะบีทั้งหลาย และบริจาคทรัพย์ ทั้ง ๆ ที่มีความรักในทรัพย์นั้น แก่บรรดาญาติที่สนิท และบรรดาเด็กกำพร้า และแก่บรรดาผู้ยากจนและผู้ที่อยู่ในการเดินทาง และบรรดาผู้ที่มาขอ และบริจาคในการไถ่ทาส และเขาได้ดำรงไว้ซึ่งการละหมาด และชำระซะกาต และ (คุณธรรม นั้น) คือบรรดาผู้ที่รักษาสัญญาของพวกเขาโดยครบถ้วน เมื่อพวกเขาได้สัญญาไว้ และบรรดาผู้ที่อดทนในความทุกข์ยาก และในความเดือดร้อน และขณะต่อสู้ในสมรภูมิ ชนเหล่านี้แหละคือผู้ที่พูดจริง และชนเหล่านี้แหละคือผู้ที่มีความยำเกรง
قال مُعاذُ بنُ جبل: يُنادى يوم القيامة: أين المتقون؟ فيقومون في كَنَفٍ من الرحمن لا يحتجِبُ منهم ولا يستترُ، قالوا له: مَنِ المتَّقون؟ قال: قومٌ اتَّقوا الشِّركَ وعبادةَ الأوثان، وأخلصوا للهِ بالعبادة.
มุอ๊าซ อิบนุจะบัลกล่าวว่า วันกิยามะฮฺจะมีเสียงเรียก "ผู้มีตักวาอยู่ไหน" ก็จะมีคนลุกขึ้นยืนใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ โดยไม่มีสิ่งปกปิดระหว่างพวกเขากับพระองค์...
وقال ابنُ عباس: المتَّقون الذين يَحْذَرون من اللُه عقوبتَه في ترك ما يعرفون من الهدى، ويَرجون رحمَته في التصديق بما جاءَ به.
- ผู้มีตักวา คืออยู่ที่ระวังตัวให้ห่างไกลจากการลงโทษต่อคนที่ละทิ้งสิ่งที่เขารู้ว่านั่นคือทางนำ,
- รู้ทางนำ -- เชื่อ ปฏิบัติ และเผยแพร่, เชื่อมั่นในสิ่งที่อัลลอฮฺประทานลงมา
وقال الحسن: المتقون اتَّقَوا ما حُرِّم عليهم، وأذوا ما افْتُرِض عليهم.
وقال عُمَر بن عبد العزيز: ليس تقوى الله بصيام النهار، ولا بقيام الليل، والتخليطِ فيا بَيْنَ ذلك، ولكن تقوى اللهِ تركُ ما حرَّم الله، وأداءُ ما افترضَ الله، فمن رُزِقَ بعدَ ذلك خيرًا، فهو خيرٌ إلى خير.
وقال طلقُ بنُ حبيب: التقوى أن تعملَ بطاعةِ الله على نورٍ من الله ترجو ثوابَ الله، وأن تتركَ معصيةَ الله على نورٍ من اللُه تخافُ عقابَ الله.
- ตักวาคือปฏิบัติตามอัลลอฮฺ โดยมีแสงสว่างจากอัลลอฮฺ ละเว้นความชั่วก็ด้วยแสงสว่าง(คำสั่ง)จากอัลลอฮฺ
وعن أبي الدرداء قال: تمامُ التقوى أن يتقي الله العبدُ حتى يتقيه من مثقال ذرِّةٍ، حتى يترك بعض ما يرى أنه حلالٌ خشيةَ أن يكون حرامًا يكون حجابًا بينه وبينّ الحرام، فإن الله قد بَيَّن للعباد الذي يُصيرهم إليه فقال: {فَمَنْ يَعْمَلْ مِثْقَالَ ذَرَّةٍ خَيْرًا يَرَهُ (٧) وَمَنْ يَعْمَلْ مِثْقَالَ ذَرَّةٍ شَرًّا يَرَهُ} [الزلزلة: ٧، ٨]، فلا تحقرن شيئًا من الخير أن تفعله، ولا شيئًا من الشرِّ أن تتقيه.
อบุดดัรดาอฺ - ตักวาที่สมบูรณ์คือ ยำเกรงอัลลอฮฺ จนกระทั่งตักวาต่ออัลลอฮฺ แม้น้ำหนักเท่าละออง ที่จะระวังว่าเราจะพบกับการลงโทษของอัลลอฮฺหรือไม่ โดยเขาจะละเว้นบางสิ่งที่หะล้าล เพื่อไม่ให้เข้าใกล้สิ่งหะรอม
อัลลอฮฺแจกแจงไว้แล้วว่าสิ่งที่จะทำให้กลับไปยังพระองค์
"99:7-8 ดังนั้นผู้ใดกระทำความดีหนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะเห็นมัน ส่วนผู้ใดกระทำความชั่วหนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะเห็นมัน -- "จะเห็นมัน" แสดงว่าอัลลอฮฺอาจจะยกโทษให้หรือลงโทษก็ได้
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 17 views
