- จากหลักฐานทั้งหมดแสดงว่า "การทำให้ดีในทุกสิ่ง" เป็นวาจิบ (ไมใช่เรื่องอาสา) ทำให้ดีที่สุดในทุกๆ สิ่งเท่าที่มีความสามารถ
- เมื่อถูกทดสอบ(เช่น เป็นอัมพาต, ป่วย ฯลฯ) ให้อดทน ไม่บ่น ไม่แสดงความรังเกียจ
- ทำให้ดีในสิ่งที่อัลลอฮฺอนุญาตให้ฆ่าชีวิต (เช่น ฆาตกร, คนที่จะมาฆ่าเรา ฯลฯ ฆ่าให้รวดเร็วที่สุด ง่ายที่สุด ลึกลับที่สุด โดยไม่มีการทรมาน
- ปัญหาการเชือดไก่ในโรงงาน โดยใช้ไฟฟ้าช็อตก่อนเชือด
عَنْ أَبِي يَعْلَى شَدَّادِ بْنِ أَوْسٍ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ عَنْ رَسُولِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ قَالَ : (( إِنَّ اللهَ كَتَبَ الإِحْسَانَ عَلَى كُلِّ شَيْءٍ : فَإِذَا قَتَلْتُمْ فَأَحْسَنُوا الْقِتْلَةَ ، وَإِذَا ذَبَحْتُمْ فَأَحْسِنُوا الذِّبْحَةَ ، وَلْيُحِدَّ أَحَدُكُمْ شَفْرَتَهُ ، وَلْيُرِحْ ذَبِيحَتَهُ )) رواه مسلم
จากอบูยะอฺลา (ชัดดาด บินเอาวส์) จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“แท้จริง อัลลอฮฺได้กำหนดให้กระทำดีต่อทุกสิ่ง : ดังนั้น เมื่อพวกท่านฆ่าก็จงฆ่าด้วยดี เมื่อพวกท่านเชือด(สัตว์) ก็จงเชือดด้วยวิธีที่ดี และจงลับมีดให้คม และจงให้สัตว์เชือดนั้นนอนเตรียมพร้อม (เพื่อเชือด ไม่ให้สัตว์ทรมาน)” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
- อิมามบุคอรีไม่ได้บันทึกหะดีษบทนี้ เพราะท่านไม่รายงานอะไรจากอบุลอัชอัฎ อัศศ็อนอานี
هذا الحديث خرَّجه مسلم دونَ البخاري من رواية أبي قلابة ، عن أبي الأشعث الصنعاني ، عن شدَّادِ بنِ أوس ، وتركه البخاري ؛ لأنَّه لم يخرِّج في " صحيحه " لأبي الأشعث شيئاً وهو شاميٌّ ثقة . وقد روي نَحوهُ من حديث سَمُرُةَ ، عن النَّبيِّ قال : (( إنَّ الله محسِنٌ فأحسنوا ، فإذا قَتَلَ أحدكُم ، فليُكْرِم مقتولَه ، وإذا ذبح ، فليحدَّ شفرته ، وليُرِحْ ذبيحته )) خرَّجه ابن عدي .
อีกสำนวน ท่านนบีกล่าวว่า "อัลลอฮฺนั้นเป็นผู้ทรงกระทำดี ดังนั้นพวกท่านจงกระทำดี คนหนึ่งคนใดถ้าจะต้องฆ่า(ประหารโดยชอบธรรม) ก็จงให้เกียรติเขา, ถ้าจะเชือดสัตว์ ก็จงลับมีด(ให้คม) ให้มันนอนโดยไม่ทรมาน"
“แท้จริง อัลลอฮฺได้ "กำหนด" ให้กระทำดีต่อทุกสิ่ง
وخرَّج الطبراني من حديث أنس ، عن النَّبيِّ قال : (( إذا حكمتُمْ فاعْدِلُوا ، وإذا قَتَلتُم فأَحْسِنُوا ، فإنَّ الله مُحْسِنٌ يُحِبُّ المحسنين ))
فقولُه : (( إنَّ الله كتب الإحسّانَ على كُلِّ شيء )) ، وفي رواية لأبي إسحاق الفزاري في كتاب " السير " عن خالدٍ ، عن أبي قِلابة ، عن النَّبيِّ : (( إنَّ الله كتبَ الإحسّانَ على كلِّ شيءٍ )) ، أو قال : (( على كلِّ خلقٍ )) هكذا خرَّجها مرسلةً ، وبالشكِّ في : (( كُلِّ شيءٍ )) ، أو : (( كلِّ خلق )) ، وظاهرُهُ يقتضي أنَّه كتب على كلِّ مخلوق الإحسّان ، فيكون كُلُّ شيءٍ ، أو كُلُّ مخلوق هو المكتوبَ عليه ، والمكتوب هو الإحسّانُ .
"เมื่อพวกท่านตัดสินพิพากษาก็จงยุติธรรม เมื่อจะฆ่าก็จงทำด้วยดี แท้จริงอัลลอฮฺทรงกระทำดีและโปรดปรานผู้กระทำดี"
ความหมายของ "กะตะบะ" ในอัลกุรอานและหะดีษ
كتب - กำหนด, บัญญัติ, วาจิบต้องปฏิบัติ
وقيل: إن المعنى: إن الله كتب الإحسانَ إلى كلِّ شيء، أو في كلِّ شيء، أو كتب الإحسانَ في الولاية على كُلِّ شيءٍ، فيكون المكتوبُ عليه غيرَ مذكور، وإنما المذكورُ المحسن إليه.
ولفظ "الكتابة" يقتضي الوجوب عندَ أكثرِ الفقهاء والأصوليين خلافًا لبعضهم، وإنما استعمالُ لفظة الكتابة في القرآن فيما هو واجب حتمٌ إمَّا شرعًا،
كقوله تعالى: {إِنَّ الصَّلَاةَ كَانَتْ عَلَى الْمُؤْمِنِينَ كِتَابًا مَوْقُوتًا} [النساء: ١٠٣]،
4:103 แท้จริงการละหมาดนั้นเป็นบัญญัติที่ถูกกำหนดเวลาไว้แก่ผู้ศรัทธาทั้งหลาย
وقوله: {كُتِبَ عَلَيْكُمُ الصِّيَامُ} [البقرة: ١٨٣]، {كُتِبَ عَلَيْكُمُ الْقِتَالُ} [البقرة: ٢١٦]، أو فيما هو واقع قدرًا لا محالة، كقوله: {كَتَبَ اللَّهُ لَأَغْلِبَنَّ أَنَا وَرُسُلِي} [المجادلة: ٢١]، وقوله: {وَلَقَدْ كَتَبْنَا فِي الزَّبُورِ مِنْ بَعْدِ الذِّكْرِ أَنَّ الْأَرْضَ يَرِثُهَا عِبَادِيَ الصَّالِحُونَ} [الأنبياء: ١٠٥]، وقوله: {أُولَئِكَ كَتَبَ فِي قُلُوبِهِمُ الْإِيمَانَ} [المجادلة: ٢٢].
58:22 ชนเหล่านั้นอัลลอฮฺได้ทรงบันทึกการศรัทธาไว้ในจิตใจของพวกเขา
وقال النبيُّ - صلى الله عليه وسلم - في قيام شهر رمضانَ: "إنِّي خشيتُ أن يُكْتَبَ عَلَيكُمْ" (١) وقال: "أُمِرْتُ بالسِّواكِ حتى خشيتُ أن يُكتَبَ عليَّ" (٢)، وقال: "كُتِبَ على ابنِ آدمَ حظُّه من الزِّنى، فهو مُدرِكٌ ذلك لا محالة" (٣).
- การบัญญัติละหมาดกิยามุลลัยลฺ
- นบีถูกสั่งให้ใช้สิว้าก จนท่านเกรงว่าจะเป็นข้อบังคับสำหรับทุกคน
31.08 - ลูกหลานอาดัมถูกกำหนดให้ซินาประสบกับเขาโดยไม่มีทางรอด (ขั้นตอนสู่ซินา)ที่เลี่ยงไม่ได้ ตามันซินาคือการมอง, ซินาของมือคือสัมผัส, ซินาของขาคือก้าวเดินไปสู่ซินา สุดท้ายคืออวัยวะเพศที่จะยืนยันว่าเป็น "ซินา" หรือเปล่า
وحينئذ فهذا الحديث نصٌّ في وجوب الإحسان، وقد أمر الله تعالى به، فقال: {إِنَّ اللَّهَ يَأْمُرُ بِالْعَدْلِ وَالْإِحْسَانِ} [النحل: ٩٠]، وقال: {وَأَحْسِنُوا إِنَّ اللَّهَ يُحِبُّ الْمُحْسِنِينَ} [البقرة: ١٩٥]. وهذا الأمرُ بالإحسانِ تارةً يكونُ للوجوب كالإحسان إلى الوالدين والأرحام بمقدار ما يحصل به البر والصِّلَةُ والإحسانُ إلى الضيف بقدر ما يحصل به قِراه على ما سبق ذكره. وتارةً يكونُ للندب كصدقةِ التطوعِ ونحوها.
- จากหลักฐานทั้งหมดแสดงว่า "การทำให้ดีในทุกสิ่ง" เป็นวาจิบ (ไมใช่เรื่องอาสา) ทำให้ดีที่สุดในทุกๆ สิ่งเท่าที่มีความสามารถ
- เช่น การละหมาดฟัรฎูเป็นวาจิบ และเป็นวาจิบ(จำเป็น)ต้องละหมาดให้ดี
- อิหฺซาน - มุหฺซินีน
- ทำดีกับบิดามารดาและเครือญาติ, ทำความดี(ให้เกียรติ)แขก
- สุจูดบน 7 อวัยวะ (เป็นวาจิบ), สุจูดให้ยาวนาน (เป็นมุสตะฮับ ชอบให้กระทำ)
وهذا الحديثُ يدلُّ على وجوب الإحسانِ في كل شيء من الأعمال، لكن إحسانُ كُلِّ شيء بحسبه، فالإحسانُ في الإتيان بالواجبات الظاهرة والباطنةِ: الإتيانُ بها على وجه كمال واجباتها، فهذا القدرُ من الإحسان فيها واجب، وأمَّا الإحسانُ فيها بإكمالِ مستحباتها فليس بواجب. والِإحسانُ في ترك المحرَّمات: الانتهاءُ عنها، وتركُ ظاهرها وباطنها، كما قال تعالى: {وَذَرُوا ظَاهِرَ الْإِثْمِ وَبَاطِنَهُ} [الأنعام: ١٢٠]. فهذا القدرُ من الإحسان فيها واجب.
- ละหมาดเว้นความชั่ว ก็ต้องละเว้นให้ดี โดยละเว้นทั้งภายนอกและภายใน ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า "6:120 และพวกเจ้าจงสละซึ่งบาปที่เปิดเผยและบาปที่ปกปิด"
- ไม่ส่งเสริมคนที่ทำความชั่ว
وأما الإِحسانُ في الصبر على المقدورات، فأن يأتي بالصبر عليها على وجهه من غير تَسَخُّطٍ ولا جَزَع.
56.0 ความอดทนต่อมุซีบะฮฺด้วยสิ่งที่เราสามารถทำได้ วาจิบต้องอดทน โดยไม่อนุญาตให้มีความเกลียดชังต่อสภาพที่อัลลอฮฺทดสอบ หรือความหวัดกลัวสิ้นหวังในความช่วยเหลือของอัลลอฮฺ
- เมื่อถูกทดสอบ(เช่น เป็นอัมพาต, ป่วย ฯลฯ) ให้อดทน ไม่บ่น ไม่แสดงความรังเกียจ
- อุละมาอฺตาบอดท่านหนึ่ง เมื่อคนถามว่าเป็นยังไง ท่านจะตอบว่า "อัลอาฟิยะฮฺ" (สมบูรณ์ ดีที่สุด ไม่มีดีกว่านี้แล้ว) ท่านกล่าวเช่นนี้เสมอ
والإحسانُ الواجبُ في معاملة الخلق ومعاشرتهم: القيامُ بما أوجب الله من حقوق ذلك كلِّه، والِإحسانُ الواجب في ولاية الخلق وسياستهم، القيام بواجبات الولاية كُلِّها، والقدرُ الزائد على الواجب في ذلك كلِّه إحسانٌ ليس بواجب.
อิหฺซาน - การทำความดีที่ดี ในด้านความสัมพันธ์ต่อมนุษย์และสิ่งถูกสร้างอื่นๆ และบริหารสิ่งต่างๆ อย่างดีด้วย, ทำหน้าที่ปกครองอย่างดี,
والإحسانُ في قتل ما يجوزُ قتلُه من الناس والدواب: إزهاقُ نفسه على أسرعِ الوجوه وأسهلِها وأوحاها من غير زيادةٍ في التعذيب، فإنه إيلامٌ لا حاجة إليه. وهذا النوعُ هو الذي ذكره النبيُّ - صلى الله عليه وسلم - في هذا الحديث، ولعله ذكره على سبيلِ المثال، أو لحاجته إلى بيانه في تلك الحال فقال: "إذا قتلتُم فأحسِنوا القتلة، وإذا ذبحتم فأحسِنوا الذِّبحة" والقِتلة والذِّبحة بالكسر، أي: الهيئة، والمعنى: أحسنوا هيئة الذبح، وهيئة القتل. وهذا يدلّ على وجوب الإسراع في إزهاق النفوس التي يُباحُ ازهاقُها على أسهلِ الوجوه. وقد حكى ابنُ حَزمٍ الإجماع على وجوب الإحسان في الذبيحة، وأسهلُ وجوه قتل الأدمي ضربه بالسيف على العنق، قال الله تعالى في حقِّ الكفار: {فَإِذَا لَقِيتُمُ الَّذِينَ كَفَرُوا فَضَرْبَ الرِّقَابِ} [محمد: ٤]، وقال تعالى: {سَأُلْقِي فِي قُلُوبِ الَّذِينَ كَفَرُوا الرُّعْبَ فَاضْرِبُوا فَوْقَ الْأَعْنَاقِ} [الأنفال: ١٢]. وقد قيل: إنه عين الموضع الذي يكونُ الضربُ فيه أسهلَ على المقتول وهو فوقَ العظام دونَ الدماغ، ووصى دريدُ بنُ الصِّمة قاتله أن يَقتُلَهُ كذلك (١).
- ทำให้ดีในสิ่งที่อัลลอฮฺอนุญาตให้ฆ่าชีวิต (เช่น ฆาตกร, คนที่จะมาฆ่าเรา ฯลฯ ฆ่าให้รวดเร็วที่สุด ง่ายที่สุด ลึกลับที่สุด โดยไม่มีการทรมาน
- ปัญหาการเชือดไก่ในโรงงาน โดยใช้ไฟฟ้าช็อตก่อนเชือด
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 15 views
