- ยึดทรัพย์สินจากผู้อื่น ไม่ได้กลิ่นสวรรค์ แม้กระทั่งสิ่งเล็กๆน้อยๆ เช่นไม้ข่อย(สิว้าก)
- เศาะดะเกาะฮฺ (บริจาค) ด้วยทรัพย์สินที่ลักมาจากคนอื่น แล้วภายหลังเจ้าของยกให้ (คนที่ลักได้ผลบุญไหม)
- หากไม่สามารถคืนของที่ยึดหรือขโมยมาได้
- นำของที่ยึดมาไปเศาะดะเกาะฮฺ (โดยไม่รู้ว่าเจ้าของยินยอมหรือไม่)
- ยึดทรัพย์สินจากผู้อื่น ไม่ได้กลิ่นสวรรค์ แม้กระทั่งสิ่งเล็กๆน้อยๆ เช่นไม้ข่อย(สิว้าก)
"...หลังจากนั้นท่าน (ร่อซูล) ได้เล่าเรื่องชายคนหนึ่งที่เดินทางเป็นระยะเวลายาวนานจน (ผม) ยุ่งเหยิง และฝุ่นตลบ เขาแบมือทั้งสองสู่ฟ้า (พลางขอดุอาอฺว่า) ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ขณะนั้น อาหารที่เขากินนั้นเป็นอาหารที่ต้องห้าม เครื่องดื่มของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และเสื้อผ้าของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และบำรุงปากท้องของเขาด้วยสิ่งที่ต้องห้าม ดังนี้แล้วจะมีการตอบสนองการขอของเขาได้อย่างไร” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
التصدق بالمغصوب ثم إجازة الغاصب
เศาะดะเกาะฮฺ (บริจาค) ด้วยทรัพย์สินที่ลักมาจากคนอื่น แล้วภายหลังเจ้าของยกให้ (คนที่ลักได้ผลบุญไหม)
واعلم أن من العلماء من جعل تصرف الغاصب ونحوه في مال غيره موقفا على إجازة مالكه فإن أجاز تصرفه فيه جاز وقد حكى بعض أصحابنا رواية عن أحمد أنه من أخرج زكاته من مال مغصوب ثم أجازه المالك جاز وسقطت عنه الزكاة، وكذلك خرج ابن أبي الدنيا رواية عن أحمد أنه إذا أعتق عبد غيره عن نفسه ملتزما ضمانه في ماله ثم أجازه المالك جاز ونفذ عتقه وهو خلاف نص أحمد وحكى عن الحنفية أنه لو غصب شاة فذبحها لمتعته وقرانه ثم أجازه المالك أجزأت عنه
- สามีนำเงินของภรรยาไปทำบุญ โดยภรรยาไม่รู้ ภายหลังภรรยารู้ก็ยกให้
- "อัศฮาบุนา" ในที่นี่หมายถึง พวกเราในมัซฮับฮัมบะลี (ที่อิบนุร่อจับศึกษาในมัซฮับนี้)
- ปล่อยทาสของคนอื่น โดยเจ้าของไม่ยินยอมหรือยินยอมภายหลัง
- เหตุผลต่างๆ ในการเปลี่ยนทัศนะของนักวิชาการ
- การให้ การซื้อขาย ต้องมีความพอใจของทั้งสองฝ่าย
- การเอา/ได้ ของคนอื่น ด้วยความเกรงใจ
26.4
ماذا يفعل الغاصب إن عجز عن رد المغصوب
หากไม่สามารถคืนของที่ยึดหรือขโมยมาได้
الوجه الثاني من تصرفات الغاصب في المال المغصوب أن يتصدق به عن صاحبه إذا عجز عن رده إليه وإلى ورثته فهذا جائز عند أكثر العلماء منهم مالك وأبو حنيفة وأحمد وغيرهم قال ابن عبدالبر ذهب الزهري ومالك والثوري والأوزاعي والليث إلى أن الغال إذا تفرق أهل العسكر ولم يصل إليهم أنه يدفع إلى الإمام خمسة ويتصدق بالباقي روي ذلك عن عبادة بن الصامت ومعاوية والحسن البصري وهو يشبه مذهب ابن مسعود وابن عباس رضي الله عنهما أنهما كانا يريان أن يتصدق بالمال الذي لا يعرف صاحبه وقال قد أجمعوا في اللقطة على جواز الصدقة بها بعد التعريف وانقطاع صاحبها وجعلوه إذا جاء مخيرًا بين الأجر والضمان، وكذلك المغصوب انتهي
- เอาทรัพย์นั้นไปเศาะดะเกาะฮฺแทนเจ้าของได้ไหม ?
- คนที่หยิบทรัพย์เชลยไป ก่อนที่จะแบ่ง
- ของหยิบ ของเจอมา ต้องประกาศหาเจ้าของ ระยะเวลานานเท่าไหร่ ?
- เจอของตกอยู่ ควรจะเก็บไหม ? เจอแพะอยู่ในป่า ?
- ของหยิบ เป็นเรื่องใหญ่ เพราะเป็นสิทธิของคนอื่น
- ประกาศหาเจ้าของแล้ว ไม่มีใครมารับ ควรทำอย่างไร ?
46.20
أقوال السلف في التصدق بالمغصوب
นำของที่ยึดมาไปเศาะดะเกาะฮฺ (โดยไม่รู้ว่าเจ้าของยินยอมหรือไม่)
وروي عن مالك بن دينار ، قال : سألتُ عطاء بن أبي رباح عمن عنده مالٌ حرام ، ولا يعرف أربابه ، ويريدُ الخروج منه ؟ قال : يتصدق به ولا أقول : إنَّ ذلك يُجزئ عنه . قال مالك : كان هذا القول من عطاء أحبَّ إليَّ من وزنه ذهباً .
وقال سفيان فيمن اشترى من قوم شيئاً مغصوباً : يردُّه إليهم ، فإنْ لم يقدر عليهم ، تصدَّق به كلَّه ، ولا يأخذ رأس ماله ، وكذا قال فيمن باع شيئاً ممن تكره معاملته لشبهة ماله ، قال : يتصدَّقُ بالثمن ، وخالفه ابنُ المبارك ، وقال : يتصدق بالرِّبح خاصَّةً ، وقال أحمد : يتصدَّق بالربح .
- ของขโมย ที่ไม่รู้เจ้าของ อยากจะคืน แต่ไม่รู้จะคืนยังไง ? เศาะดะเกาะฮฺไปได้ไหม ?
54.0 - ซื้อของขโมย โดยไม่รู้ หรือรู้ภายหลังว่าเป็นของขโมยมา อยากจะคืน แต่หาเจ้าของไม่ได้ จะทำอย่างไร ?
-- อิมามซุฟยาน - ให้นำไปคืน ถ้าไม่ทราบเจ้าของก็ให้เศาะดะเกาะฮฺไปให้หมด
วันกิยามะฮฺอัลลอฮฺจะสอบสวนทุกคน ว่าริสกีใช้ไปอย่างไร ? ดังนั้นต้องระมัดระวังในการใช้
- การขายของให้คนที่ไม่ควรซื้อขายกับเขา เช่น รายได้เขาหะรอมล้วนๆ หรือชุบฮัต, คนขโมยของมาขาย ฯลฯ
وكذا قال فيمن ورث مالاً من أبيه ، وكان أبوه يبيعُ ممَّن تكره معاملته : أنَّه يتصدَّق منه بمقدار الرِّبح ، ويأخذ الباقي . وقد رُوي عن طائفةٍ من الصَّحابة نحوُ ذلك : منهم : عمرُ بنُ الخطاب ، وعبدُ الله بنُ يزيد الأنصاري . والمشهور عن الشافعي رحمه الله في الأموال الحرام : أنَّها تُحفظ ، ولا يُتصَدَّقُ بها حتى يظهر مستحقُّها . وكان الفضيلُ بنُ عياض يرى : أنَّ من عنده مالٌ حرامٌ لا يعرف أربابه ، أنَّه يُتلفه ، ويُلقيه في البحر ، ولا يتصدَّق به ، وقال : لا يتقرَّب إلى الله إلاَّ بالطيب .
- เช่นเดียวกัน คนที่ได้รับมรดกจากบิดา โดยบิดาของเขาเคยซื้อขายกับคนที่มีรายได้ชุบฮัต (หรือหะรอมเป็นส่วนมาก) ?
- ทัศนะหนึ่ง - ให้กะเอาส่วนนึง ไปเศาะดะเกาะฮฺ (แทนเจ้าของทรัพย์สิน)
- บริษัทสุรา แจกผ้าห่ม
- ยึดทรัพย์สินจากผู้อื่น ไม่ได้กลิ่นสวรรค์ แม้กระทั่งสิ่งเล็กๆน้อยๆ เช่นไม้ข่อย(สิว้าก)
والصحيح الصدقةُ به ؛ لأنَّ إتلاف المال وإضاعته منهيٌّ عنه ، وإرصاده أبداً تعريض له للإتلاف ، واستيلاء الظلمة عليه ، والصدقة به ليست عن مكتسبه حتى يكون تقرُّباً منه بالخبيث ، وإنَّما هي صدقةٌ عن مالكه ، ليكون نفعُه له في الآخرة حيث يتعذَّرُ عليه الانتفاعُ به في الدنيا .
1.24 ท่านอุมัร อิบนุลคอตต๊อบ เป็นคนละเอียดในเรื่องทรัพย์สินมาก - หลังเสียชีวิต 1 ปี มีคนฝันเห็นท่านอุมัรปัดฝุ่นเสื้อผ้า มีคนถาม ท่านก็ตอบว่าเพิ่งเสร็จจากการถูกสอบสวน
- ของไม่ดี ไม่ต้องคืน ไม่ต้องชดใช้ เพราะไม่ถือเป็นทรัพย์สินที่มีคุณค่า เช่น เหล้า
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 22 views