หะดีษที่ 10-1 อัลลอฮฺนั้นทรงดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ

Submitted by dp6admin on Sun, 01/12/2024 - 15:32
หัวข้อเรื่อง
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 42
- ความหมายของ "ฏ็อยยิบ" (ดี)
- การกระทำ คำพูด ความเชื่อ ทั้งหมดแบ่งได้เป็น "ดี" และ "ไม่ดี
- คำพูดที่ดีและเลว
- อะมั้ลจะไม่ถูกรับ จนกว่าจะบริโภคสิ่งหะล้าล
- อัลลอฮฺสั่งผู้ศรัทธาทุกคน เช่นเดียวกับที่สั่งแก่บรรดาร่อซูล -- ให้บริโภคสิ่งหะล้าล, ทำสิ่งที่ดี
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
ความยาว
85.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

عَنْ أَبِي هُرَيْرَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ  قَالَ : قَالَ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : (( إِنَّ اللهَ تَعَالَى طَيِّبٌ لاَ يَقْبَلُ إِلاَّ طَيِّبًا  ،  وَإِنَّ اللهَ أَمَرَ الْمُؤْ مِنِينَ بِمَا أَمَرَبِهِ الْمُرْسَلِينَ   ،فَقَالَ تَعَالَى ﴿ يَاأَيُّهَا الرُّسُلُ كُلُوا مِنَ الطَّيِّبَاتِ وَاعْمَلُوا صَالِحًا ﴾ وَقَالَ تَعَالَى ﴿ يَاأَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا كُلُوا مِنْ طَيِّبَاتِ مَارَزَقْنَاكُمْ ﴾
ثُمَّ ذَكَرَ الرَّجُلَ يُطِيلُ السَّفَرَ ،  أَشْعَثَ أَغْبَرَ ،  يَمُدُّ يَدَيْهِ إِلَى السَّمَاءِ :  يَارَبُّ يَارَبُّ ، وَمَطْعَمُهُ حَرَامٌ ،  وَمَشْرَبُهُ حَرَامٌ وَمَلْبَسُهُ حَرَامٌ ،  وَغُذِيَ بِالْحَرَامِ ،  فَأَنَّى يُسْتَجَابُ لَهُ ! )).  رَوَاهُ مُسْلِمٌ .

จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า : ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  กล่าวว่า 
“แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ และแท้จริงอัลลอฮฺได้ทรงกำชับให้ผู้ศรัทธา (เช่นเดียวกัน) กับพระองค์ทรงกำชับบรรดาร่อซูล (กล่าวคือ) พระองค์พระผู้ทรงสูงส่งได้ตรัสว่า “โอ้บรรดาร่อซูล จงกินจากสิ่งที่ดี และจงกระทำการดี” และยังตรัสอีกว่า “โอ้บรรดาผู้ศรัทธา จงกินจากที่ดี ๆ ซึ่งเราได้ให้เป็นปัจจัยยังชีพของสูเจ้า”
หลังจากนั้นท่าน (ร่อซูล) ได้เล่าเรื่องชายคนหนึ่งที่เดินทางเป็นระยะเวลายาวนานจน (ผม) ยุ่งเหยิง และฝุ่นตลบ เขาแบมือทั้งสองสู่ฟ้า (พลางขอดุอาอฺว่า) ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ขณะนั้น อาหารที่เขากินนั้นเป็นอาหารที่ต้องห้าม เครื่องดื่มของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และเสื้อผ้าของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และบำรุงปากท้องของเขาด้วยสิ่งที่ต้องห้าม ดังนี้แล้วจะมีการตอบสนองการขอของเขาได้อย่างไร”   หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม

معنى الطيب
13.40 ความหมายของ "ฏ็อยยิบ" (ดี)

    وقوله - صلى الله عليه وسلم - : (( إنَّ الله تعالى طيب )) هذا قد جاء أيضاً من حديث سعد بن أبي وقاص ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( إن الله طيِّبٌ يحبُّ الطَّيِّبَ ، نظيفٌ يحبُّ النظافة ، جواد يحبُّ الجود )) . خرَّجه الترمذي) ، وفي إسناده مقال ، والطيب هنا : معناه الطاهر.

"แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงดี(ฏ็อยยิบ)"
- มีหะดีษอีกบทหนึ่ง "แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงดีและทรงโปรดสิ่งดีๆ พระองค์ทรงสะอาดและชอบความสะอาด พระองค์ทรงใจบุญและชอบคนใจบุญ" (บันทึกโดยติรมิซียิ สายสืบมีปัญหาเล็กน้อย)
- ความหมายโดยรวม - ทรงบริสุทธิ์ ปราศจากข้อบกพร่องหรือข้อตำหนิทั้งปวง
- การทำความดีต่างๆ ก็ต้องทำให้ดี 

- والمعنى : أنَّه تعالى مقدَّسٌ منَزَّه عن النقائص والعيوب كلها ، وهذا كما في قوله : { وَالطَّيِّبَاتُ لِلطَّيِّبِينَ وَالطَّيِّبُونَ لِلطَّيِّبَاتِ أُولَئِكَ مُبَرَّأُونَ مِمَّا يَقُولُون }  ، والمراد : المنزهون من أدناس الفواحش وأوضَارها .
- وقوله : (( لا يقبل إلا طيباً )) قد ورد معناه في حديث الصدقة ، ولفظُه : (( لا يتصدَّق أحدٌ بصدقة من كسب طيب ولا يقبل الله إلا طيباً …  ، والمراد أنَّه تعالى لا يقبل مِن الصدقات إلا ما كان طيباً حلالاً .
- وقد قيل : إنَّ المراد في هذا الحديث الذي نتكلم فيه الآن بقوله : (( لا يقبلُ الله إلا طيباً )) أعمُّ مِنْ ذلك ، وهو أنَّه لا يقبل من الأعمال إلا ما كان طيباً طاهراً من المفسدات كلِّها ، كالرياء والعُجب ، ولا من الأموال إلا ما كان طيباً حلالاً ، فإنَّ الطيب تُوصَفُ به الأعمالُ والأقوالُ والاعتقاداتُ ، فكلُّ هذه تنقسم إلى طيِّبٍ وخبيثٍ . - وقد قيل : إنَّه يدخل في قوله تعالى : { قُلْ لا يَسْتَوِي الْخَبِيثُ وَالطَّيِّبُ وَلَوْ أَعْجَبَكَ كَثْرَةُ الْخَبِيثِ }  هذا كلُّه .

46.0
الطيب من الكلام والأعمال والاعتقادات
การกระทำ คำพูด ความเชื่อ ทั้งหมดแบ่งได้เป็น "ดี" และ "ไม่ดี

- คำพูดที่ดีและเลว
- وقد قسَّم الله تعالى الكلام إلى طيب وخبيث ، فقال : { ضَرَبَ اللهُ مَثَلاً كَلِمَةً طَيِّبَةً كَشَجَرَةٍ طَيِّبَة }  ، { وَمَثَلُ كَلِمَةٍ خَبِيثَةٍ كَشَجَرَةٍ خَبِيثَةٍ }  ، وقال تعالى : {إِلَيْهِ يَصْعَدُ الْكَلِمُ الطَّيِّبُ } ، ووصف الرسول - صلى الله عليه وسلم - بأنَّه يحلُّ الطيبات ويحرِّمُ الخبائث .
14:24 อัลลอฮทรงยกอุทาหรณ์ไว้ว่า อุปมาคำพูดที่ดีดั่งต้นไม้ที่ดี* รากของมันฝังแน่นลึกมั่นคง และกิ่งก้านของมันชูขึ้นไปในท้องฟ้า (*คือ ลาอิลาหะ อิลลัลลอฮ)
14:26 และอุปมาคำพูดที่เลว* ดั่งต้นไม้ที่อับเฉาถูกถอนรากออกจากพื้นดิน มันไม่มีความมั่นคงเลย  (*คือ คำพูดที่เป็นชิริก)
50.0 ท่านหญิงอาอิชะฮฺ พูดถึงท่านหญิงซอฟิยะฮฺในทางไม่ดี ท่านนบีโมโหและกล่าวว่า "เธอรู้ไหม คำพูดของเธอ ถ้าเอาไปผสมกับน้ำทะเล มันจะเน่าเสียหมด"

- وقد قيل : إنَّه يدخل في ذلك الأعمالُ والأقوالُ والاعتقاداتُ أيضاً ، ووصف الله تعالى المؤمنين بالطيب بقوله تعالى : { الَّذِينَ تَتَوَفَّاهُمُ الْمَلائِكَةُ طَيِّبِينَ }  وإنَّ الملائكة تقولُ عند الموت: اخرُجي أيتها النفس الطَّيِّبة التي كانت في الجسد الطيِّب، وإنَّ الملائكة تسلِّمُ عليهم عندَ دُخول الجنة، ويقولون لهم: طبتم فادخلوها خالدين، وقد ورد في الحديث أنَّ المؤمن إذا زار أخاً له في الله تقول له الملائكة : (( طِبْتَ ، وطابَ ممشاك ، وتبوَّأْتَ من الجنة منْزلاً ))( لكن إسناده ضعيف ) .
- เมื่อมลาอิกะฮฺมายึดวิญญาณคนดีจะพูดว่า "โอ้วิญญาณที่ดี จงออกมา ซึ่งเคยอยู่ในรูปร่างที่ดี" เมื่อจะเข้าสวรรค์ มลาอิกะฮฺก็จะให้สลามและกล่าวว่า "เมื่อพวกเจ้าเป็นคนดีแล้ว ก็เชิญเข้ามาพำนักตลอดกาล"
- หะดีษ(ฏออีฟหน่อย) เมื่อมุอฺมินคนหนึ่งไปเยี่ยมพี่น้องของเขา มลาอิกะฮฺจะกล่าวแก่เขาว่า "เจ้านี่ดีนะ การดินของเจ้าย่อมดี  ดังนั้นจงเตรียมพำนักในสวรรค์อย่างถาวร"

- فالمؤمن كله طيِّبٌ قلبُه ولسانُه وجسدُه بما سكن في قلبه من الإيمان ، وظهر على لسانه من الذكر ، وعلى جوارحه من الأعمال الصالحة التي هي ثمرة الإيمان ، وداخلة في اسمه ، فهذه الطيباتِ كلُّها يقبلها الله - عز وجل - ومن أعظم ما يحصل به طيبةُ الأعمَال للمؤمن طيبُ مطعمه ، وأنْ يكون من  حلال ، فبذلك يزكو عملُه.
"มุอฺมิน ทั้งหมด(ทั้งตัว)นั้น เป็นคนดี หัวใจเขาดี ลิ้นดี ร่างกายดี เนื่องด้วยอีมานที่พำนักในหัวใจ การรำลึกถึงอัลลอฮฺด้วยเขา จึงทำให้เป็นลิ้นที่ดี และอะมั้ลซอลิหฺของร่างกายเขา จึงเป็นร่างกายที่ดี ซึ่งอยู่ในเนื้อหาของอีมาน - เนื่องด้วยสิ่งดีๆเหล่านี้ -- อัลลอฮฺจะรับและตอบแทน -- การบริโภคที่ดี มาจากแหล่งที่ดี(หะล้าล)

لا يُقبل العمل إلا بأكل الحلال
อะมั้ลจะไม่ถูกรับ จนกว่าจะบริโภคสิ่งหะล้าล

-  وفي هذا الحديث إشارةٌ إلى أنَّه لا يقبل العملُ ولا يزكو إلاَّ بأكل الحلال ، وإنَّ أكل الحرام يفسد العمل ، ويمنع قبولَه ، فإنَّه قال بعد تقريره : (( إنَّ الله لا يقبلُ إلاَّ طيباً )) إنَّ الله أمر المؤمنين بما أمر به المرسلين ، فقال : { يَا أَيُّهَا الرُّسُلُ كُلُوا مِنَ الطَّيِّبَاتِ وَاعْمَلُوا صَالِحاً } ، وقال : { يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا كُلُوا مِنْ طَيِّبَاتِ مَا رَزَقْنَاكُمْ }  .

- การกินสิ่งหะรอมทำลายอะมั้ล ทำให้อัลลอฮฺไม่รับอะมั้ล (การงาน)
- อัลลอฮฺสั่งผู้ศรัทธาทุกคน เช่นเดียวกับที่สั่งแก่บรรดาร่อซูล -- ให้บริโภคสิ่งหะล้าล, ทำสิ่งที่ดี

"และแท้จริงอัลลอฮฺได้ทรงกำชับให้ผู้ศรัทธา (เช่นเดียวกัน) กับพระองค์ทรงกำชับบรรดาร่อซูล (กล่าวคือ) พระองค์พระผู้ทรงสูงส่งได้ตรัสว่า “โอ้บรรดาร่อซูล จงกินจากสิ่งที่ดี และจงกระทำการดี” และยังตรัสอีกว่า “โอ้บรรดาผู้ศรัทธา จงกินจากที่ดี ๆ ซึ่งเราได้ให้เป็นปัจจัยยังชีพของสูเจ้า”

- والمراد بهذا أنَّ الرسل وأممهم مأمورون بالأكل من الطيبات التي هي الحلال ، وبالعمل الصالح ، فما دام الأكل حلالاً ، فالعملُ صالح مقبولٌ ، فإذا كان الأكلُ غير حلالٍ ، فكيف يكون العمل مقبولاً ؟
- وما ذكره بعد ذَلِكَ من الدعاء ، وأنَّه كيف يتقبل مع الحرام ، فهوَ مثالٌ لاستبعاد قَبُولِ الأعمال مع التغذية بالحرام . وقد خرَّج الطبراني بإسناد فيهِ نظر عن ابن عباس قالَ : تُليَتْ هذه الآية عندَ رسول الله - صلى الله عليه وسلم - : { يَا أَيُّهَا النَّاسُ كُلُوا مِمَّا فِي الأَرْضِ حَلالاً طَيِّباً } ، فقام سعدُ بنُ أبي وقاص ، فقال : يا رسول الله ، ادع الله أنْ يجعلني مستجابَ الدعوة ، فقال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - : (( يا سعد ، أطِبْ مطعَمَك تكن مستجاب الدَّعوة ، والذي نفس محمد بيده إنَّ العبد ليقذف اللُّقمة الحرام في جوفه ما يتقبل الله منه عمل أربعين يوماً، وأيُّما عبدٍ نبت لحمُه من سُحْتٍ فالنارُ أولى به )).

- เนื้อที่งอกจากสิ่งหะรอม, รายได้หะรอม ?
-------

 

WCimage
หะดีษที่ 10-1