หะดีษที่ 9/5 อันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ//

Submitted by dp6admin on Tue, 26/11/2024 - 13:56
หัวข้อเรื่อง
- ละทิ้งสิ่งหะรอมดีกว่าการทำความดีที่เป็นซุนนะฮฺ  (ต่อ)
- ทำไมการทิ้งความชั่วจึงประเสริฐกว่าทำนัฟลู ?
- การดำรงชีวิตตามหลักการศาสนามีความลำบาก ปัญหาของแต่ละคนแตกต่างกัน
- เราต้องรู้ปัญหาของเราและพยายาม, รวมทั้งพยายามช่วยเหลือคนอื่นด้วย
- ทำในสิ่งที่มีความสามารถทำได้ ? อย่างไร ?
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
ความยาว
72.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

الْحَدِيْثُ التاسع หะดีษที่ 9

عَنْ أَبِي هُرَيْرَةَ عَبْدِ الرَّحْمنِ بْنِ صَخْرٍ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ  قَالَ : سَمِعْتُ رَسُولَ اللهِ  صلى الله عليه وسلم  يَقُولُ:

(( مَانَهَيْتُكُمْ عَنْهُ فَاجْتَنِبُوهُ  ، وَمَا أَمَرْتُكُمْ بِهِ فَأْ تُوا مِنْهُ مَا اسْتَطَعْتُمْ،  فَإِنَّمَا أَهْلَكَ الَّذِينَ مِنْ قَبْلِكُمْ كَثْرَةُ مَسَائِلِهِمْ وَاخْتِلاَ فُهُمْ عَلَى أَنْبِيَا ئِهِمْ ))    ;رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ

    จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ (อับดุรเราะหฺมาน บินศ็อครฺ)  กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูล ﷺ กล่าวว่า “อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน และอันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ แท้จริง บรรดา(ผู้คน)ที่พินาศไปก่อนหน้าพวกท่านนั้นคือ พวกเขาถามมาก และพวกเขาขัดแย้ง (ไม่เคารพเชื่อฟัง) นบีของพวกเขา”  หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม

تفضيل ترك المحرمات على فعل النوافل
32.25 ละทิ้งสิ่งหะรอมดีกว่าการทำความดีที่เป็นซุนนะฮฺ  (ต่อ)

- ทำความดี กับ ทิ้งความชั่ว อันไหนดีกว่า ?
- คนทำซินา แต่ก็ทำซุนนะฮฺเยอะแยะ กับคนที่ไม่ทำซินา แต่ไม่ทำซุนนะฮฺเลย ?

•    وحاصل كلامهم يدلُّ على أنَّ اجتناب المحرمات - وإنْ قلَّتْ - فهي أفضلُ من الإكثار من نوافل الطاعات فإنَّ ذلك فرضٌ ، وهذا نفلٌ .
อิบนุร่อจับ - สรุปได้จากคำพูดของบรรดาอุละมาอฺว่า การละเว้นชั่ว(สิ่งหะรอม) แม้จะน้อยนิดก็ตาม ย่อมประเสริฐกว่าการทำความดี(ฏออะฮฺ)ที่เป็นอาสา (ซุนนะฮฺ)มากมาย เพราะการละเว้นสิ่งหะรอมเป็นฟัรฎู แต่การทำซุนนะฮฺเป็นเรื่องอาสา (ถ้าไม่ทำไม่บาป)

ทำไมการทิ้งความชั่วจึงประเสริฐกว่าทำนัฟลู ?

•    وقالت طائفة من المتأخرين : إنَّما قال - صلى الله عليه وسلم - : (( إذا نهيتُكم عن شيءٍ فاجتنبوه ، وإذا أمرتكم بأمر فأتوا منه ما استطعتم )) ؛ لأنَّ امتثالَ الأمر لا يحصلُ إلاّ بعمل ، والعملُ يتوقَّفُ وجودُه على شروط وأسباب ، وبعضها قد لا يُستطاع ، فلذلك قيَّده بالاستطاعة ، كما قيد الله الأمر بالتقوى بالاستطاعة ، قال تعالى : { فَاتَّقُوا اللهَ مَا اسْتَطَعْتُمْ }  . وقال في الحجّ : { وَلله عَلَى النَّاسِ حِجُّ الْبَيْتِ مَنِ اسْتَطَاعَ إِلَيْهِ سَبِيلاً }  . وأما النهيُّ : فالمطلوب عدمُه ، وذلك هو الأصل ، فالمقصود استمرار العدم  الأصلي ، وذلك ممكن ، وليس فيه ما لا يُستطاع .
11.0 ที่ท่านนบีบอกว่า " “อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน และอันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ.."
- การทำอิบาดะฮฺยามเจ็บป่วย เช่น ตะยัมมุมแทนอาบน้ำละหมาด, มีท่อปัสสาวะก็ต้องละหมาด, ปัสสาวะเล็ด หรือกกะปริดกะปรอย ก็ละหมาดได้, 
- คำสั่งต่างๆ ขึ้นอยู่กับความสามารถ ทำเท่าที่ทำได้ เฉกเช่นที่อัลลอฮฺสั่งให้ตักวา(ยำเกรงพระองค์) เท่าที่สามารถกระทำได้

•     وهذا أيضاً فيه نظر ، فإنَّ الداعي إلى فعل المعاصي قد يكون قوياً ، لا صبر معه للعبد على الامتناع مع فعل المعصية مع القدرة عليها ، فيحتاج الكفُّ عنها حينئذٍ إلى مجاهدةٍ شديدةٍ ، ربما كانت أشقَّ على النفوس من مجرَّدِ مجاهدة النفس على فعل الطاعة ، ولهذا يُوجَدُ كثيراً من يجتهد فيفعل الطاعات ، ولا يقوى على ترك المحرمات. وقد سئل عمرُ عن قومٍ يشتهون المعصية ولا يعملون بها ، فقال : أولئِكَ قومٌ امتحنَ الله قلوبهم للتقوى ، لهم مغفرةٌ وأجرٌ عظيم.
- ไม่ทำชั่ว ง่ายกว่าทำดี ? หรือทำดีง่ายกว่าเลิกความชั่ว ? บางคนเลิกความชั่วเป็นเรื่องยากสำหรับเขา
- ท่านอุมัรถูกถามว่า คนกลุ่มนึงอยากทำความชั่วแต่ไม่ทำ ท่านอุมัรตอบว่า "คนเหล่านี้เป็นคนที่อัลลอฮฺทดสอบหัวใจของเขา เพื่อให้สำรวจตักวา ว่าใครจะได้รับอภัยโทษและรางวันอันใหญ่หลวง"

•    وقال يزيد بن ميسرة : يقولُ الله في بعض الكتب : أيُّها الشابُّ التارك شهوتَه ، المتبذل شبابه من أجلي ، أنت عندي كبعض ملائكتي . وقال : ما أشد الشهوة في الجسد ، إنَّها مثلُ حريق النار ، وكيف ينجو منها الحصوريون ؟ .
- โอ้เยาวชนที่ต่อสู่ชะหฺวะฮฺของตนเอง (ไม่ทำตามกิเลส) เจ้าเปรียบเสมือนมลาอิกะฮฺที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺเลย
- ความใคร่ของอารมณ์มันรุนแรงเสียนี่กระไร มันเสมือนไฟที่ลุกไหม้

التكليف بما في الطاقة
28.4 น้ำหนักอยู่ตรงไหน ?

•    والتحقيق في هذا أنَّ الله لا يكلِّفُ العبادَ مِنَ الأعمال ما لا طاقةَ لهم به ، وقد أسقط عنهم كثيراً من الأعمال بمجرَّدِ المشقة رخصةً عليهم ، ورحمةً لهم ،وأمَّا المناهي ، فلم يَعْذِرْ أحداً بارتكابها بقوَّةِ الدَّاعي والشَّهوات ، بل كلَّفهم تركها على كلِّ حال، وأنَّ ما أباح أنْ يُتناول مِنَ المطاعم المحرَّمة عند الضرورة ما تبقى معه الحياة ، لا لأجل التلذذ والشهوة ، ومن هنا يعلم صحة ما قاله الإمام أحمد: إنَّ النهي أشدُّ من الأمر. 
وقد روي عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - من حديث ثوبان وغيره أنَّه قال : (( استقيموا ولن تُحْصُوا )) يعني : لن تقدروا على الاستقامة كلها .
- อัลลอฮฺจะไม่บังคับบ่าวในสิ่งที่เขาไม่สามารถ 
- เยาวชนที่ขออนุญาตทำซินา นบีพูดคุยด้วยเหตุผลและขอดุอาอฺให้เขา จนกระทั่งเขาเกลียดการทำซินา
- คนที่ติดตามข้ออนุโลม (รุคเศาะฮฺ) เท่ากับสวะศาสนา
- มีหะดีษจากท่านนบีว่า "จงดำรงชีวิตให้เที่ยงตรงที่สุด แต่พวกเจ้าก็จะไม่สามารถทำได้อย่างสมบูรณ์" หะดีษนี้ทำให้เรามองคนอื่นในแง่ดี

49.0
•    وروى الحكم بن حزن الكُلَفي ، قال : وفدت إلى رسول الله - صلى الله عليه وسلم - ، فشهدتُ معه الجمعة ، فقام رسولُ الله - صلى الله عليه وسلم - متوكئاً على عصاً أو قوسٍ ، فحمِدَ الله ، وأثنى عليه بكلماتٍ خفيفاتٍ طيباتٍ مباركاتٍ ، ثُمَّ قال : (( أيُّها النَّاسُ إنَّكم لن تُطيقُوا ، أو لن تَفْعَلوا كُلَّ ما أَمَرْتُكم به ، ولكن سَدِّدُوا وأبشِرُوا )) خرَّجه الإمام أحمد وأبو داود .

สรุป - การดำรงชีวิตตามหลักการศาสนามีความลำบาก ปัญหาของแต่ละคนแตกต่างกัน
- เราต้องรู้ปัญหาของเราและพยายาม, รวมทั้งพยายามช่วยเหลือคนอื่นด้วย

الإتيان بالممكن
ทำในสิ่งที่มีความสามารถทำได้

•    وفي قوله - صلى الله عليه وسلم - : (( إذا أمرتُكم بأمرٍ فأتوا منه ما استطعتم )) دليلٌ على أنَّ من عَجَزَ عن فعل المأمور به كلِّه ، وقدرَ على بعضه ، فإنَّه يأتي بما أمكنه منه ، وهذا مطرد في مسائل :
•    منها : الطهارة ، فإذا قدر على بعضها ، وعجز عن الباقي : إما لعدم الماء ، أو لمرض في بعض أعضائه دون بعض، فإنَّه يأتي مِنْ ذلك بما قدر عليه ، ويتيمم للباقي، وسواء في ذلك الوضوء والغسل على المشهور .
•    ومنها : الصلاة ، فمن عَجَزَ عن فعل الفريضة قائماً صلَّى قاعداً ، فإن عجز صلَّى مضطجعاً، وفي "صحيح البخاري"  عن عِمْرَانَ بن حصين: أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قال: (( صَلِّ قائماً، فإنْ لم تستطع فقاعداً ، فإنْ لم تستطع فعلى جنبٍ )) ، ولو عجز عن ذلك كلِّه ، أومأ بطرفه ، وصلى بنيته ، ولم تسقُط عنه الصلاةُ على المشهور .ومنها : زكاة الفطر ، فإذا قَدَرَ على إخراج بعضِ صاع ، لزمه ذلك على الصحيح .
•     فأمَّا من قدر على صيامِ بعض النهار دُونَ تكملته ، فلا يلزمه ذلك بغير خلاف ؛ لأنَّ صيامَ بعض اليوم ليس بقُربَةٍ في نفسه ، وكذا لو قدر على عتق بعض رقبة في الكفارة لم يلزمه ؛ لأنَّ تبعيض العتق غير محبوب للشارع بل يُؤْمَرُ بتكميله بكلِّ طريق.
•    وأما من فاته الوقوفُ بعرفةَ في الحج، فهل يأتي بما بقيَ منه من المبيت بمزدلفة ، ورمي الجمار أم لا ؟ بل يقتصر على الطواف والسعي ، ويتحلل بعمرة على روايتين عن أحمد ، أشهرهما : أنَّه يقتصر على الطواف والسعي ؛ لأنَّ المبيتَ والرميَّ من لواحق الوقوف بعرفة وتوابعه ، وإنَّما أمر الله تعالى بذكره عند المشعر الحرام ، وبذكره في الأيام المعدودات لمن أفاض من عرفات ، فلا يؤمر به من لا يقف بعرفة كما لا يؤمر به المعتمر .
 

WCimage
หะดีษที่ 9-5 อันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ//