หะดีษที่ 7/1 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ

Submitted by dp6admin on Mon, 11/11/2024 - 22:25
หัวข้อเรื่อง
- ความน่าเชื่อถือของหนังสือญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ของอิบนุร่อจับ อัลฮัมบะลียฺ
- ความสำคัญของหะดีษและความประเสริฐของนะศีหะฮฺ
- อุละมาอฺเห็นว่าหะดีษนี้เป็นหนึ่งในสี่ ของเนื้อหาหะดีษทั้งหมดของท่านนบี
- การตักเตือนระหว่างมุสลิมกับผู้นำ
- หน้าที่ของผู้นำต่อประชาชน
วันที่บรรยาย
ความยาว
62.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

عَنْ أَبِي رُقَيَّةَ تَمِيمِ بْنِ أَوسٍ الدَّارِيِّ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ  أَنّ النَّبِيَّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ  قَالَ :  (( الدِّينُ النَّصِيحَةُ )) قُلْنَا : لِمَنْ ؟  قَالَ : (( لِلَّهِ ، وَلِكِتَابِهِ ، وَلِرَسُولِهِ ، وَلأَئِمَّةِ الْمُسْلِمِينَ  وَعَامَّتِهِمْ  ))  رَوَاهُ مُسْلِمٌ .

จากอบูรุก็อยยะฮฺ (ตะมีม บิน เอาวสฺ อัดดารี)  กล่าวว่า : ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ศาสนานั้นคือ การตักเตือน” 
พวกเราถามว่า “สำหรับใคร (โอ้ท่านนบี)?” ท่านนบี  ตอบว่า “สำหรับอัลลอฮฺ, คัมภีร์ของพระองค์, ศาสนทูตของพระองค์, ผู้นำมุสลิม และสำหรับมุสลิมทั่วๆ ไป”
 หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม

أهمية الحديث وفضيلة النصح
ความสำคัญของหะดีษและความประเสริฐของนะศีหะฮฺ

•     ذكرنا في أوَّل الكتاب عن أبي داود : أنَّ هذا الحديث أحدُ الأحاديث التي يدور عليها الفقه . وقال الحافظ أبو نُعيم : هذا حديثٌ له شأن ، ذكر محمدُ بنُ أسلم الطوسي أنَّه أحدُ أرباع الدين
หะดีษหลักของนิติศาสตร์อิสลามมีไม่กี่บท หะดีษนี้เป็นบทหนึ่งที่สำคัญ อุละมาอฺเห็นว่าหะดีษนี้เป็นหนึ่งในสี่ ของเนื้อหาหะดีษทั้งหมดของท่านนบี)

•     وخرَّج الطبرانيُّ- بسند ضعيف -من حديث حُذيفة بن اليمان ، عنِ النَّبيِّ   - قال : (( مَنْ لا يَهْتَمُّ بأمرِ المُسلمين فليس منهم ، ومَنْ لَمْ يُمْسِ ويُصْبِحْ ناصِحاً للهِ ولرسوله ولكتابه ولإمامِه ولعامَّة المسلمين فليس منهم)) .
10.55 (หะดีษฎ่ออีฟ แต่นำเนื้อหามาใช้ได้) ท่านนบี "คนที่ไม่ให้ความสำคัญ(ไม่เอาใจใส่)ในกิจการของมุสลิมีนทั้งหลาย ก็ไม่ถือเป็นคนหนึ่งในพวกเขา, ใครที่ตื่นมายามเช้าและ(ก่อนนอน) ยามเย็น ไม่เคยนะศีหัต(เลื่อมใสบริสุทธิ์)ต่ออัลลอฮฺ ต่อร่อซูล ต่อคัมภีร์ของพระองค์ ต่อผู้นำ และต่อมุสลิมทั่วไป ก็ไม่ถือเป็นหนึ่งในหมู่พวกเขา"

•    وقال ابنُ عُلَيَّةَ في قول أبي بكر المزني : ما فاق أبو بكر   أصحاب رسول الله   - بصومٍ ولا صلاةٍ ، ولكن بشيء كان في قلبه ، قال : الذي كان في قلبه الحبُّ لله - عز وجل - ، والنصيحة في خلقه . 
وقال الفضيلُ بن عياض : ما أدركَ عندنا مَنْ أدرك بكثرة الصلاة والصيام ، وإنما أدرك عندنا بسخاءِ الأنفس ، وسلامةِ الصدور ، والنصح للأمة .
 وسئل ابنُ المباركَ : أيُّ الأعمال أفضلُ ؟ قال: النصحُ لله . وقال معمر : كان يقال : أنصحُ الناسِ لك مَنْ خاف الله فيك .
อบูบักร อัลมุซานี (ตาบิอีน) - ท่านอบูบักร (อัศศิดดี๊ก) ไม่ได้ประเสริฐกว่าผู้อื่นที่การละหมาดหรือถือศีลอด แต่เป็นสิ่งที่อยู่ในหัวใจ ท่านรักอัลลอฮฺ และทำหน้าที่นะศีหัต* ต่อประชาชน  (*นะศีหัต มีความหมายกว้างกว่า "ตักเตือน")
- ฟุฎ็อยลฺ อิบนุอิยาฎ (นักทำอิบาดะฮฺแห่งมักกะฮฺมะดีนะฮฺ)
(ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของซูฟีฏอรีกัต (คำว่า บรรลุ)) 
- อิบนุลมุบาร็อก - อิบาดะฮฺที่ประเสริฐคือการตักเตือนเพื่ออัลลอฮฺ คนที่จะเตือนท่านอย่างดีที่สุดคือคนที่เกรงกลัวอัลลอฮฺมากที่สุด

23.38
نصح المسلمين للولاة ونصح الولاة للمسلمين
การตักเตือนระหว่างมุสลิมกับผู้นำ

•    وقد ورد في أحاديث كثيرة النصح للمسلمين عموماً ، وفي بعضها : النصح لولاة أمورهم ، وفي بعضها : نصح ولاة الأمور لرعاياهم .

•    فأما الأوَّل : وهو النصحُ للمسلمين عموماً ،
1- การตักเตือนมุสลิมทั่วไป

 ففي " الصحيحين "  عن جرير بن عبد الله قال : بايعتُ النَّبيَّ   على إقامِ الصَّلاةِ ، وإيتاءِ الزكاة ، والنصح لكلِّ مسلم . وفي " صحيح مسلم "  عن أبي هريرة ، عنِ النَّبيِّ   قال : (( حقُّ المؤمن على المؤمن ستّ )) فذكر منها : (( وإذا استنصحك فانصَحْ له ))  .
-- ตัวอย่างการค้าขายของศ่อฮาบะฮฺ
- บริสุทธิ์ใจในการค้าขาย
ท่านนบี "สิทธิของมุอฺมินต่อมุอฺมินมี 6 ประการ (ประการหนึ่งคือ) เมื่อมีผู้มาขอคำปรึกษา(ขอให้เตือนเขา) วาจิบต้องให้คำปรึกษาแก่เขา"

•    وأما الثاني : وهو النصحُ لولاة الأمور ، ونصحهم لرعاياهم ، 
2- การตักเตือนผู้นำ - มุสลิมเตือนผู้นำหรือผู้นำเตือนมุสลิมทั่วไป

ففي " صحيح مسلم " عن أبي هريرة ، عن النَّبيِّ   قال : (( إنَّ الله يرضى لكم ثلاثاً : يَرْضَى لكم أنْ تعبُدُوه ولا تُشْرِكوا به شيئاً ، وأنْ تعتصِمُوا بحبلِ اللهِ جميعاً ولا تفرَّقوا ، وأنْ تُناصِحُوا مَنْ وَلاّه الله أمركم)) . وفي " المسند "  وغيره عن جُبير بنِ مطعم : أنَّ النَّبيَّ    قال في خطبته بالخَيْفِ مِنْ مِنى : (( ثلاثٌ لا يَغِلُّ عليهنَّ قلبُ امرئ مسلم : إخلاصُ العمل لله ، ومناصحةُ ولاةِ الأمر ، ولزومُ جماعة المسلمين )) . 
- อัลลอฮฺพอพระทัยต่อพวกท่าน 3 ประการคือ ...
- ท่านนบีกล่าวในฮัจญฺอำลาว่า "3 ประการ (หากมี) หัวใจของมุสลิมจะไม่มีมลทิน 1- ปฏิบัติการงานเพื่ออัลลอฮฺ (บริสุทธิ์ใจ) 2- ตักเตือนผู้นำ 3- รักษาจะมาอะฮฺของประชาชาติ

- หน้าที่ของผู้นำต่อประชาชน
 وفي " الصحيحين " عن معقل بن يسار ، عن النَّبيِّ   قال : (( ما من عبدٍ يسترعيه الله رعيةً ثُمَّ لم يُحِطْها بنصيحةٍ إلا لم يَدْخُلِ الجنة )) .
ท่านนบี "ไม่มีบ่าวของอัลลอฮฺคนใดที่อัลลอฮฺมอบหมายความรับผิดชอบให้ดูแลผู้คน และจะไม่ปกครองด้วยนะศีหะฮฺ (ตักเตือนแนะนำในสิ่งที่ดี) เว้นแต่ผู้นำเหล่านั้น (ไม่ให้ข้อตักเตือน) จะไม่เข้าสวรรค์" (ตีความ - ตลอดกาลหรือชั่วคราว ?)
- การตีความหะดีษ มุสลิมะฮฺไม่คลุมหิจาบไม่ด้กลิ่นสวรรค์)

 

WCimage
หะดีษที่ 7/1 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ