หะดีษที่ 6 ภาคที่ 3
ความสับสัน(อิชติบาฮฺ, คลุมเครือ)เกิดขึ้น เนื่องจากไม่แน่ใจว่าจะเปรียบเทียบประเด็นนี้กับกรณีใด
เรื่องที่(คลุมเครือนั้น)คนส่วนมากไม่รู้ (แสดงว่ามีกลุ่มคนที่รู้ ซึ่งเป็นส่วนน้อย)
กลุ่มที่วินิจฉัยแล้ว ไม่รู้ (ไม่ได้คำตอบ) มี 2 กลุ่ม
- คนที่ไม่มีสิทธิ์ฟัตวา ไม่มีคุณสมบัติในการวินิจฉัย
- ใครก็ตามที่นำความรู้มาจากตำราอย่างเดียว ความรู้ของเขา ณ ผู้รู้ ไม่ถือว่าเป็น "ความรู้"
จากอบูอับดุลลอฮฺ (อัน-นุอฺมาน บินบะชีร) กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
แท้จริง สิ่งที่อนุมัติ (หะล้าล) นั้นชัดแจ้ง สิ่งที่ต้องห้าม (หะรอม) ก็ชัดแจ้ง และในระหว่างทั้งสองสิ่งนั้น มีเรื่อง (หรือสิ่ง) ที่คลุมเครือ (ไม่ชัดแจ้ง) ซึ่งผู้คนส่วนมากไม่รู้ ดังนั้น ผู้ใดรักษาตัวเขาจากสิ่ง (หรือเรื่อง) ที่คลุมเครือนั้น เขาได้ชำระตัวเขาในการปกป้องศาสนาของเขาและเกียรติของเขา ส่วนที่ตกลงไปในการกระทำสิ่งที่คลุมเครือ เขาก็ได้ตกลงไปในเรื่องที่ต้องห้าม เช่นเดียวกับผู้ที่เลี้ยงปศุสัตว์รอบ ๆ ที่ดินที่ต้องห้าม (เช่น สวนของคนอื่น) ไม่ช้ามันก็จะเข้า (ไปกิน) ใน (สวน) นั้น
จงจำไว้ว่า ผู้ปกครอง (กษัตริย์ ฯลฯ) ทุกคนมีขอบเขตที่ต้องห้าม จงจำไว้เถิดว่า ที่อัลลอฮฺทรงห้ามนั้น คือสิ่งที่พระองค์ไม่ทรงอนุมัติ จงจำไว้ว่า ในร่างกายนั้นมีเนื้อก้อนหนึ่ง เมื่อมันดี ร่างกายนั้นก็ดีด้วย แต่เมื่อมันเสีย ร่างกายก็จะเสียไปด้วย จงจำไว้ว่ามันคือ หัวใจ
หะดีษนี้บันทึกโดย บุคอรีย์และมุสลิม
الاشتباه في الحكم لتردد الفرع بين أصول تجتذبه
ความสับสน(คลุมเครือ)ในเรื่องการหุกุ่ม(ตัดสิน) อันเนื่องจากสิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบนั้น เปรียบเทียบได้กับหลายหลักการ
وقد يقع الاشتباه في الحكم ، لكون الفرع متردِّداً بين أصول تجتذبهُ ، كتحريم الرجل زوجته ، فإنَّ هذا متردِّدٌ بين تحريم الظِّهار الذي ترفعه الكفَّارةُ الكبرى ، وبين تحريم الطَّلقة الواحدة بانقضاء عدتها الذي تُباحُ معه الزوجة بعقدٍ جديدٍ ، وبين تحريم الطَّلاق الثلاث الذي لا تُباح معه الزوجةُ بدون زوج وإصابة وبين تحريم الرجل عليه ما أحلَّه الله له مِنَ الطَّعام والشراب الذي لا يحرمه ، وإنَّما يُوجب الكفَّارة الصُّغرى ، أو لا يُوجب شيئاً على الاختلاف في ذلك ، فمن هاهنا كَثُرَ الاختلافُ في هذه المسألة في زمن الصحابة فمن بعدهم .
- ตัวอย่าง - ชายคนหนึ่งกล่าวถึงภรรยาว่าเป็นหะรอม... เปรียบเทียบกับเรื่องซิฮ้ารได้ไหม ? หรือจะเทียบกับกรณีหย่ากัน ? หรือเทียบกับฏอล้ากใหญ่(ครบ 3 ครั้ง) ? -- หุกุ่มและการไถ่โทษของแต่ละกรณีแตกต่างกัน
- เทียบได้กับกล่าวในสิ่งหะล้าลว่าสิ่งนั้นหะรอม -- จะไถ่โทษ(กัฟฟาเราะฮฺ)อย่างไร
-- ผิดสาบาน - ปล่อยทาส, ให้อาหารมิสกีน10 คน, ให้เครื่องนุ่มห่มมิสกีน, ถือศีลอด (กัฟฟาเราะฮฺเล็ก)
-- หรือ
30.0 เชคมุฮัมมัดอัลอะมีน อัชชังกีฏียิ (อุละมาอฺใหญ่ที่ประเทศมอริทาเนีย)
36.0
لا يعلمهن كثير من الناس
เรื่องที่(คลุมเครือนั้น)คนส่วนมากไม่รู้ (แสดงว่ามีกลุ่มคนที่รู้ ซึ่งเป็นส่วนน้อย)
• وبكل حال فالأمور المشتبهة التي لا تتبين أنَّها حلال ولا حرام لكثير من الناس، كما أخبر به النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - ، قد يتبيَّنُ لبعضِ النَّاس أنَّها حلال أو حرام ، لما عِنده مِنْ ذلك من مزيدِ علمٍ، وكلام النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - يدلُّ على أنَّ هذه المشتبهات مِنَ النَّاسِ من يعلمُها، وكثيرٌ منهم لا يعلمها ، فدخل فيمن لا يعلمها نوعان :
- เป็นไปได้ว่าเรื่องคลุมเครือ(ชุบฮัต)นั้นประจักษ์ชัดสำหรับบางคน เนื่องจากเขามีความรู้มากกว่าคนส่วนมาก
กลุ่มที่วินิจฉัยแล้ว ไม่รู้ (ไม่ได้คำตอบ) มี 2 กลุ่ม
• أحدهما : من يتوقَّف فيها ؛ لاشتباهها عليه .
- กลุ่มที่ 1 (วินิจฉัยแล้ว)ไม่รู้ ก็หยุด สงวนคำตอบ (ไม่ตอบ)
• والثاني : من يعتقدُها على غيرِ ما هي عليه ، ودل كلامُه على أنَّ غير هؤلاء يعلمها ، ومرادُه أنَّه يعلمها على ما هي عليه في نفس الأمر من تحليل أو تحريم ، وهذا من أظهر الأدلة على أنَّ المصيبَ عند الله في مسائل الحلال والحرام المشتبهة المختلفِ فيها واحدٌ عند الله - عز وجل - ،
وغيره ليس بعالم بها ، بمعنى أنَّه غيرُ مصيب لحكم الله فيها في نفس الأمر ، وإنْ كان يعتقدُ فيها اعتقاداً يستندُ فيه إلى شبهة يظنُّها دليلاً ، ويكون مأجوراً على اجتهاده ، ومغفوراً له خطؤه لعدم اعتماده .
- กลุ่ม 2 ไม่รู้ แต่เขาเชื่อและให้หุกุ่ม จึงตอบผิด (ผิดจากบทบัญญัติที่อัลลอฮฺกำหนด แต่ไม่บาป เพราะวินิจฉัยแล้ว แต่ถือว่าเป็นกลุ่มที่ไม่รู้ในเรื่องนี้)
- คนที่ไม่มีสิทธิ์ฟัตวา ไม่มีคุณสมบัติ
1.04 - ใครก็ตามที่นำความรู้มาจากตำราอย่างเดียว ความรู้ของเขา ณ ผู้รู้ ไม่ถือว่าเป็น "ความรู้"
คนที่เรียนรู้จากอุละมาอฺเรียกว่า ...... คนที่เคยคุกเข่าเรียนกับอุละมาอฺ
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 44 views
