หะดีษที่ 5/7 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (วะกัฟและวะซียัต) - จบหะดีษ

Submitted by dp6admin on Tue, 10/09/2024 - 15:21
หัวข้อเรื่อง
วะกัฟ และ วะซียัต (พินัยกรรม)
- เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับ "การวะกัฟ" อุละมาอฺมีข้อขัดแย้งกันมาก
- วะกัฟ กับ วะซียัต คล้ายๆกัน แต่วะกัฟมักทำตอนมีชีวิต แต่วะซียัตทำเมื่อเสียชีวิตแล้ว
- มารยาทในการทำบุญ
- เสียชีวิตแล้ว จะบริหารทรัพย์สินอย่างไร (ตามลำดับ)
วันที่บรรยาย
ความยาว
100.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

- หะดีษที่ 5 นี้รายงานโดย อัลกอซิมบินมุฮัมมัด ตาบิอีนที่มีชื่อเสียง (หลานของท่านหญิงอาอิชะฮฺ) 

•    وهذا الحديث إنَّما رواه القاسم بن محمد لما سُئِلَ عن رجُلٍ له ثلاثة مساكن ، فأوصى بِثُلثِ ثلاث مساكن هل تجمع له في مسكن واحد ؟ فقالَ : يجمع ذَلِكَ كلهُ في مسكن واحد ، حدثتني عائشة : أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قالَ : (( مَنْ عمل عملاً ليسَ عليهِ أمرُنا فَهُو ردٌّ )) خرّجه مسلم . 
- อัลกอซิมบินมุฮัมมัดได้รายงานหะดีษนี้เพราะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น ท่านถูกถามว่า ชายคนหนึ่งมีบ้าน 3 หลัง เขาได้ทำพินัยกรรม(วะซียัต)ให้บริจาค 1 ใน 3 จากบ้านสามหลัง -- ตีความได้ 2 แบบ 1- ให้บริจาค 1 หลัง  2- บริจาค 1 ใน3 จากแต่ละหลัง (ถ้ามีหลังละ 3 ห้อง ก็เอา 1 ห้องจากแต่ละหลังไปบริจาค) -- จะตีความอย่างไร ?  ท่านตอบว่า แบบแรกถูกต้องกว่า แล้วรายงานหะดีษนี้

ومرادُه أنَّ تغيير وصية الموصي إلى ما هوَ أحبُّ إلى الله وأنفعُ جائزٌ ، وقد حكي هذا عن عطاء وابن جريج ، وربما يستدلُّ بعضُ من ذهب إلى هذا بقولِهِ تعالى : { فَمَنْ خَافَ مِنْ مُوصٍ جَنَفاً أَوْ إِثْماً فَأَصْلَحَ بَيْنَهُمْ فَلا إِثْمَ عَلَيْه }  ولعله أخذ هذا من جمع العتق ، فإنَّه صح (( أنَّ رجلاً أعتق ستة مملوكين عندَ موته ، فدعاهم النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - فجزأهم ثلاثة أجزاء ، فأعتق اثنين وأرقّ أربعة )) خرّجه مسلم.
อิบนุร่อจับอธิบายว่า ที่ท่านยกหะดีษนี้ในกรณีนี้ เพราะ การเปลี่ยนแปลงวะซียัต(พินัยกรรม) ให้เป็นไปตามที่อัลลอฮฺโปรดและมีประโยชน์มากกว่า ควรกระทำ

- เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับ "การวะกัฟ" อุละมาอฺมีข้อขัดแย้งกันมาก
- วะกัฟ กับ วะซียัต คล้ายๆกัน แต่วะกัฟมักทำตอนมีชีวิต แต่วะซียัตทำเมื่อเสียชีวิตแล้ว
- วะกัฟ แปลว่า หยุด คือ หยุด ไม่ให้ปน หยุดรับประโยชน์จากทรัพย์สินนี้ ไม่ให้ใครรับประโยชน์จากทรัพย์สินนี้ นอกจากที่ระบุในสำนวนวะกัฟ
- วะกัฟแล้ว เอาคืนได้ไหม ?
- วะกัฟไปแล้ว ไม่ได้ใช้ตามวัตถุประสงค์ของผู้วะกัฟหรือทำสิ่งผิดหลักการศาสนา เอาคืนได้ไหม ?
- อุละมาอฺบอกว่า ผู้วะกัฟ ต้องกำหนดให้มีผู้ดูแลสิ่งวะกัฟ
- ไทยไม่มีกฎหมายรองรับเรื่องสิ่งวะกัฟ
- "เหนียต" "พูด" ว่าจะให้ มีผลไหม ?
- เปลี่ยนสำนวนพินัยกรรม ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ได้ไหม ?
- อ้างถึงหะดีษ ชายที่ปล่อยทาส 6 คน แต่นบีให้คืนกลับมา 4 คน ที่เหลือเป็นมรดก
37.2 - กติกาเกี่ยวกับการปล่อยทาส มี 2 แบบ 

40.45 - มารยาทในการทำบุญ
•    وذهب فقهاءُ الحديث إلى هذا الحديث ؛ لأنَّ تكميلَ عتق العبد مهما أمكن أولى من تشقيصه ، ولهذا شُرِعَتِ السِّرايةُ والسِّعايةُ إذا أعتق أحدُ الشريكين نصيبَه من عبد . وقال - صلى الله عليه وسلم - فيمن أعتق بعض عبدٍ له : (( هو عتيقٌ كلُّه ليس لله شريك )) .
- ไม่มีการปล่อยทาสบางส่วน ต้องปล่อยทั้งหมด ยกให้อัลลอฮฺไปเลย

- วะกัฟมี 2 แบบ คือ ให้อัลลอฮฺ (ลิลลาฮฺ) และ ให้คน (ให้คนยากจน ญาติพี่น้อง นักศึกษา ลุกหลาน เด็กกำพร้า คนตาบอด ฯลฯ)
- อุละมาอฺไม่สนับสนุน คนที่วะกัฟ โดยเอาผลประโยชน์ให้แก่ตัวเอง

•    وأكثرُ العلماء على خلاف قول القاسم هذا ، وإنَّ وصية الموصي لا تجمع ، ويُتبع لفظه إلاَّ في العتق خاصة ؛ لأنَّ المعنى الذي جمع له في العتق غيرُ موجود في بقية الأموال ، فيعمل فيها بمقتضى وصية الموصي .
- อิบนุร่อจับบอกว่า อุละมาอฺส่วนมากไม่เห็นด้วยกับทัศนะของอัลกอซิม (บริจาคบ้าน 1 ใน 3) แต่อิบนุร่อจับเห็นด้วยกับทัศนะของอัลกอซิม
- ทัศนะของอุละมาอฺ 4 มัซฮับ ในมัสอะละฮฺนี้
•    وذهب طائفة من الفقهاء في العتق إلى أنَّه يعتق مِنْ كل عبدٍ ثلثه ، ويستسعون في الباقي ، واتباع قضاء النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أحقُّ وأولى ، والقاسم نظر إلى أنَّ في مشاركة الموصى له للورثة في المساكن كُلِّها ضرراً عليهم ، فيدفع عنهم هذا الضرر ويجمع الوصية في مسكنٍ واحدٍ ، فإنَّ الله قد شرط في الوصية عَدَمَ المضارة بقوله تعالى : { غَيْرَ مُضَارٍّ وَصِيَّةً مِنَ الله }  فمن ضارَّ في وصيته ، كان عملهُ مردوداً عليه لمخالفته ما شرط الله في الوصية .
•    وقد ذهب طائفة من الفقهاء إلى أنَّه لو وصَّى لهُ بثلث مساكنه كُلِّها، ثم تلف ثلثا المساكن ، وبقي منها ثلث أنَّه يُعطى كله للموصى له ، وهذا قولُ طائفةٍ من أصحاب أبي حنيفة ، وحكي عن أبي يوسف ومحمد ، ووافقهم القاضي أبو يعلى من أصحابنا في خلافه ، وبَنَوا ذلك على أنَّ المساكن المشتركة تقسم بين المشتركين فيها قسمة إجبار ، كما هو قولُ مالك ، وظاهرُ كلام ابن أبي موسى من أصحابنا ، والمشهورُ عند أصحابنا أنَّ المساكن المتعدِّدة لا تُقسم قسمة إجبار ، وهو قولُ أبي حنيفة والشَّافعي ، وقد تأوَّلَ بعضُ المالكية فتيا القاسم المذكورة في هذا الحديث على أنَّ أحد الفريقين من الورثة أو الموصى لهم طلب قسمة المساكن وكانت متقاربة بحيث يضمُّ بعضها إلى بعض في القسمة ، فإنَّه يُجاب إلى قسمتها على قولهم ، وهذا التأويل بعيد مخالف لِلظاهر ، والله أعلم .
1.19 อิมามมาลิกเห็นว่า ถ้าแบ่งทรัพย์สินได้โดยไม่มีข้อเสียหายแก่เจ้าของพินัยกรรมหรือผู้รับมรดก  แต่ถ้าต้องเคลียร์กันยินยอมกัน จะบังคับไม่ได้ ต้องสมัครใจ

1.14-1.19  ต่อ 1.21

เสียชีวิตแล้ว จะบริหารทรัพย์สินอย่างไร (ตามลำดับ)
1- จัดการมัยยิต เช่น ซื้อผ้ากะฝั่น ขุดหลุม อาบน้ำมัยยิต ฯลฯ
2- ชดใช้หนี้สิน คนมีหนี้สิน ท่านนบีไม่ละหมาดจะนาซะฮฺให้
3- พินัยกรรม
4- มรดก
1.25 เอาหะดีษหรือทัศนะอุละมาอฺส่วนมาก อุละมาอฺให้เกียรติกัน

1.27 ข้อสรุปของหะดีษที่ 5
คำถาม - ขายทรัพย์ของผู้เสียชีวิต ทายาทต้องยินยอม ?
- หญิงหม้าย ถูกบังคับไม่ให้แต่งงาน ?

 

WCimage
หะดีษที่ 5/7