หลักการอิสลามในเรื่องการค้าขาย, การค้าที่ต้องห้าม
ความรู้สำคัญที่ผู้ค้าขายต้องรู้
**ให้ระมัดระวังการละเมิดสิทธิในการค้าขาย**
- การให้เป็นสัญญา จะถือว่า(มอบ)เด็ดขาด เมื่อมีการให้เรียบร้อยแล้ว ผู้รับถือครองแล้ว -- ต่างจากการค้าขาย
- การยกทรัพย์สินให้ลูกหลาน หรือสัญญาว่าจะให้ มีผลไหม ?
จากมารดาแห่งศรัทธาชน อุมมุอับดุลลอฮฺ (ท่านหญิงอาอิชะฮฺ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการ (ศาสนา) ของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม ในบันทึกของมุสลิม มีสำนวนดังนี้ “ผู้ใดกระทำกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่งไม่มีระบุในคำสั่งของเรา ดังนั้นกิจการนั้นถูกผลัก”
2- กิจการที่ถูกห้าม ซึ่งเป็นสิทธิของมนุษย์ (ไม่ใช่สิทธิของอัลลอฮฺ) -- ต่อ
• وقد ذهب طائفة من العلماء إلى أنَّ من تصرَّف لغيره في ماله بغير إذنه ، لم يكن تصرُّفه باطلاً من أصله ، بل يقفُ على إجازته ، فإنْ أجازه جازَ ، وإنْ ردَّه بَطل ، واستدلُّوا بحديث عُروة بن الجعد في شرائه للنَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - شاتين ، وإنَّما كان أمرَه بشراء شاةٍ واحدةٍ ، ثم باع إحداهما ، وقبل ذلك النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - . وخصَّ ذلك الإمام أحمد في المشهور عنه بمن كان يتصرَّفُ لغيره في ماله بإذنٍ إذا خالف الإذن.
- ผู้ที่ถูกมอบหมายให้ดูแลทรัพย์สินก้อนหนึ่ง เขาได้นำไปบริหารในรูปแบบที่ไม่ได้รับอนุญาต ถ้าเจ้าของยินยอมก็ถือว่าใช้ได้
5.35
• ومنها تصرُّف المريضِ في ماله كلِّه : هل يقعُ باطلاً من أصله أم يقف تصرفه في الثلثين على إجازة الورثة ؟ فيهِ اختلاف مشهورٌ للفقهاء ، والخلاف في مذهب أحمد وغيره ، وقد صحَّ أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - رُفع إليه : أنَّ رجلاً أعتق ستةَ مملوكين لهُ عندَ موته ، لا مال لهُ غيرهم ، فدعا بهم ، فجزَّأهم ثلاثةَ أجزاءٍ ، فأعتق اثنين وأرقَّ أربعةً ، وقال لهُ قولاً شديداً ، ولعلَّ الورثة لم يُجيزوا عتق الجميع ، والله أعلم .
- คนป่วยหนักใกล้เสียชีวิต บริหารทรัพย์สินของเขาโดยลำพัง แจกจนหมด แล้วเสียชีวิต
-- ที่แจกทรัพย์ไปนั้นโมฆะมั้ย ? เพราะมีสิทธิของผุ้รับมรดกอยู่ในทรัพย์นั้นด้วย ?
-- อุละมาอฺกลุ่มหนึ่งเห็นว่าโมฆะ เพราะเป็นการทำสัญญา(แจกทรัพย์)ที่ละเมิดสิทธิของมนุษย์
-- ตย สามีใกล้เสียชีวิต จึงหย่าภรรยา เพราะไม่อยากแบ่งทรัพย์สินให้ เมื่อเสียชีวิตแล้ว ภรรยาจะรับมรดกได้ไหม ? การหย่านั้นโมฆะไหม ?
-- ทำบางอย่างเพื่อต้องการหนีหลักการ
-- ตย. พ่อรวยมาก แต่ยกทรัพย์สินให้คนอื่น ไม่ให้ลูกตัวเอง ลูกจึงฆ่าพ่อ ถ้าญาติๆให้อภัย ลูกคนนี้จะได้มรดกมั้ย ?
- มีทัศนะว่า เจ้าของมีสิทธิบริจาค 1 ใน 3 ของมรดก
12.36 หะดีษ - ชายคนนึงมีทาส 6 คน ก่อนตาย เขาปล่อยทั้งหมดเลย โดยไม่มีทรัพย์สินอื่นเลย เขายกให้นบีตัดสิน...
- ให้ระมัดระวังการบริจาคทรัพย์สินจนหมด ไม่มีเหลือไว้ให้ครอบครัว ญาติ หรือผู้ที่อยู่ภายใต้การดูแล จนต้องเดือดร้อน
- นบีอนุญาตให้ภรรยาหยิบทรัพย์สินของสามีที่ตระหนี่ไปใช้ได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต
- มุสลิมต้องบริหารทรัพย์สินโดยคำนึงถึงส่วนรวมด้วย เป็นธรรม ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
การค้าที่ต้องห้าม (หากทำถือว่าโมฆะ)
หลักการอิสลามในเรื่องการค้าขาย มัซฮับชาฟิอีและทัศนะอุละมาอฺส่วนมาก
• ومنها بيعُ المدلِّس ونحوه كالمُصَرَّاةِ، وبَيعِ النَّجْشِ ، وتلقي الركبان ونحو ذلك ، وفي صحَّته كُلِّه اختلافٌ مشهورٌ في مذهب الإمام أحمد ، وذهب طائفة من أهل الحديث إلى بطلانه وردِّه .
21.45 ตย. ผู้หลอกลวงในการค้าขาย ปกปิดตำหนิสินค้า (ถ้าลุกค้ายินยอม ก็ไม่โมฆะ), ขายแพะนมโดยหลอกลวง
- บัยอุลนัจชิ بَيعِ النَّجْشِ - รู้ว่าคนหนึ่งจะขายที่ และมีคนหนึ่งจะมาซื้อ เราก็เข้าไปหาเจ้าของที่เพื่อขอซื้อ (ไม่ตั้งใจซื้อ อยากจะปั่นราคา) โดยให้ราคาสูงกว่า ผู้ขายจึงปฏิเสธคนแรกไป -- แบบนี้ถือว่สัญญาโมฆะ เพราะหลอกลลวงและละเมิดสิทธิ์(ลูกค้าคนแรก)
• والصحيح أنَّه يصحُّ ويقفُ على إجازة من حصل له ظلمٌ بذلك ، فقد صحَّ عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه جعل مشتري المصرَّاة بالخيار ، وأنَّه جعل للركبان الخيار إذا هبطوا السوق ، وهذا كله يدل على أنَّه غير مردود من أصله ، وقد أورد على بعض من قال بالبطلان حديث المصرَّاة ، فلم يذكر عنه جواباً .
- การหลอกลวงชาวชนบทที่ปลูกพืช (พ่อค้าคนกลางที่โก่งราคา) สัญญาถือว่าโมฆะ เว้นแต่ผู้ขายยินยอม
42 - หลักการนี้เอามาใช้ในชีวิตของเราได้เช่น การซื้อขาย, การมอบหมายให้ผุ้อื่นทำธุระแทน
- ในมัซฮับชาฟิอีการค้าขายต้องยืนยันด้วยวาจา ซึ่งทำให้การค้าขายชัดเจน สมควรทำ
**ให้ระมัดระวังการละเมิดสิทธิในการค้าขาย**
- ชาวชนบท(ไม่รู้เรื่อง)ที่ถูกหลอกในการค้าขาย เมื่อไปฟ้องกอฎีจะตัดสินอย่างไร ? ขึ้นอยู่กับการยินยอมของสองฝ่าย
- อุละมาอฺมีทัศนะว่า ในการซื้อขาย หากมีฝ่ายหนึ่งไม่พอใจในสัญญา ก็ให้โมฆะ
56.0 - ในยุคที่อิสลามปกครอง จะมีผู้ตักเตือนประจำแต่ละตลาด ดูว่ามีใครโกงก็ตักเตือน และมีกอฎีด้วย เชคบินบาซเล่าว่า ท่านเคยได้รับการแต่งตั้งเป็นกอฎีประจำตลาด
- เชคอบุลหะซัน อันนัดวียฺ เขียนหนังสือ "โลกเสียหายอะไรจากการที่มุสลิมตกต่ำ" (ไม่ได้เอาหลักการศาสนามาปกครองแผ่นดิน)
- ผู้ถูกอธรรม ถูกโกง ไม่สามารถเรียกร้องสิทธิ เรียกร้องความยุติธรรมได้
- ต้องให้ชัดเจนในการค้าขาย และมีความบริสุทธิ์ จะทำให้มีบะรอกะฮฺ
- นายหน้าหรือโบรกเกอร์ในตลาดหุ้น ที่หลอกลวงคนไม่รู้เรื่อง
• وأما بيعُ الحاضر للبادي ، فمن صحَّحه ، جعله من هذا القبيل ، ومن أبطله ، جعل الحقَّ فيه لأهل البلد كلِّهم، وهم غيرُ منحصرين، فلا يتصوَّرُ إسقاطُ حقوقهم ، فصار كحقِّ الله - عز وجل
- ขายสินค้าเดียวให้หลายคน ผู้ซื้อถือกรรมสิทธิ์หลายคน จะเรียกร้องสิทธิอย่างไร ?
1.09 ความรู้สำคัญที่ผู้ค้าขายต้องรู้
1.17 ต่อ
• ومنها : لو باع رقيقاً يَحْرُمُ التَّفريقُ بينهم ، وفرَّق بينهم كالأُمِّ وولدها ، فهل يقع باطلاً مردوداً ، أم يقفُ على رضاهم بذلك ؟
ส่วนหนึ่งจากสัญญาที่ต้องดูทั้งสองฝ่าย เช่น ขายทาสที่ไม่อนุญาตให้แยกขาย เช่น แม่กับลูก
• وقد روي أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - أمر بردِّ هذا البيع ونصَّ أحمدُ على أنَّه لا يجوزُ التفريقُ بينهم ، ولو رضوا بذلك، وذهب طائفةٌ إلى جواز التفريق بينهم برضاهم ، منهم : النخعيُّ ، وعُبيد الله بنُ الحسن العنبري ، فعلى هذا يتوجه أنْ يصحَّ ، ويقف على الرضا.
ท่านนบีห้ามค้าขายเช่นนี้ (แยกทาสแม่กับลูก); อิมามอะหมัด ห้าม แม้ว่าจะยินยอมก็ตาม; อิมามนะคะอีและอุบัยดิลลาฮฺ เห็นว่าทำได้ถ้าทุกฝ่ายยินยอม
1.19 เรื่องสุดท้าย
• ومنها لو خصَّ بعضَ أولاده بالعطيَّة دونَ بعض ، فقد صحَّ عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه أمرَ بشيرَ بنَ سعدٍ لما خصَّ ولدهُ النُّعمان بالعطيَّةِ أنْ يردَّه ، ولم يدلَّ ذلك على أنَّه لم ينتقل الملكُ بذلك إلى الولد ، فإنَّ هذه
العطية تصحُّ وتقع مراعاةً ، فإنْ سوَّى بينَ الأولادِ في العطية ، أو استردَّ ما أعطي الولدَ ، جاز ، وإنْ ماتَ ولم يفعل شيئاً من ذلك ،
فقال مجاهد : هي ميراث ، وحكي عن أحمد نحوه ، وأنَّ العطية تبطلُ ، والجمهور على أنَّها لا تبطلُ ، وهل للورثة الرجوعُ فيها أم لا ؟ فيهِ قولان مشهوران هما روايتان عن أحمد.
- การให้เป็นสัญญา จะถือว่า(มอบ)เด็ดขาด เมื่อมีการให้เรียบร้อยแล้ว ผู้รับถือครองแล้ว -- ต่างจากการค้าขาย
- จะให้ สัญญาว่าจะให้ ไม่ถือว่าให้
- ตย. พ่อแม่ให้ทรัพย์สินลูก บะชีรมาหาท่านนบี ขอให้เป็นพยานว่าเขาให้พี่ดินแปลงนี้แก่ลูกคนนี้ (เขามีลูกหลายคน) นบีบอกว่า ฉันไม่เป็นพยานในเรื่องอธรรม, ให้ลูกชายคนหนึ่ง ในสิ่งที่ไม่ได้ให้ลูกคนอื่น นบีสั่งให้คืนกลับ (อย่าอธรรม ให้ลูกเท่าเทียมกัน) ฯลฯ
- ให้ลูกคนเดียว (ไม่ได้ให้คนอื่น) แล้วพ่อตายโดยไม่ได้แก่ความอธรรมนี้ จะทำอย่างไร ? อิมามอะหมัดและมุจาฮิดเห็นว่าโมฆะ ต้องยึดคืนไปเป็นมรดก แต่อุละมาอฺส่วนมากเห็นว่า มี 2 ทัศนะ...
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 18 views