หะดีษที่ 5/2 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก(โมฆะ)

Submitted by dp6admin on Sun, 18/09/2022 - 19:25
หัวข้อเรื่อง
- อำนาจบัญญัติที่แท้จริงอยู่ที่อัลลอฮฺ
- จำต้องอยู่ในกรอบของชะรีอะฮฺในกิจกรรมศาสนาที่แสวงบุญ
- ส่วนที่เกี่ยวกับอิบาดะฮฺ
-- บางส่วนของสิ่งที่ขัดกับหลักการศาสนา ไม่ถือว่าปฏิเสธทั้งหมด
-- อิบาดะฮฺไปปะปนกับสิ่งที่ต้องห้ามที่เพิ่มเติมมาเอง
-- การทำข้อห้ามอื่นๆ ในอิบาดะฮฺ
1.24 ข้อสรุป - อิบาดะฮฺทุกชนิด ต้องรักษารูปแบบที่อิสลามกำหนดไว้ ไม่ต่อเติมหรือตัดทอน เพราะการลดหรือเพิ่มนั้นอาจทำให้อิบาดะฮฺนั้นโมฆะ หรือลดผลบุญ//
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
63.00 mb
ความยาว
108.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

عَنْ أُمِّ الْمُؤْمِنِيْنَ أُمِّ عَبْدِاللهِ عَائِشَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهَا  قَالَتْ : قَالَ رَسُوْلُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : مَنْ أَحْدَثَ فِي أَمْرِنَا هَذَا مَا لَيْسَ مِنْهُ فَهُوَ رَدٌّ .

رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ , وَفِي رِوَايَةٍ لِمُسْلِمٍ : مَنْ عَمِلَ عَمَلاً لَيْسَ عَلَيْهِ أَمْرُنَا فَهُوَ رَدٌّ .

จากมารดาแห่งศรัทธาชน อุมมุอับดุลลอฮฺ (ท่านหญิงอาอิชะฮฺ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการ (ศาสนา) ของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม

ในบันทึกของมุสลิม มีสำนวนดังนี้ “ผู้ใดกระทำกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่งไม่มีระบุในคำสั่งของเรา ดังนั้นกิจการนั้นถูกผลัก”

5a    5b  

يجب التقيد بالشرع في القربات
จำต้องอยู่ในกรอบของชะรีอะฮฺในกิจกรรมศาสนาที่แสวงบุญ (กุรบะฮฺ - สิ่งที่ทำเพื่อให้ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ) (ต่อ)

ส่วนที่เกี่ยวกับอิบาดะฮฺ

•    وليس ما كان قربة في عبادة يكونُ قربةً في غيرها مطلقاً ، فقد رأى النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - رجلاً قائماً في الشمس ، فسأل عنه ، فقيل : إنَّه نذر أنْ يقوم ولا يقعدَ ولا يستظلَّ وأنْ يصومَ ، فأمره النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - أنْ يَقعُدَ ويستظلَّ ، وأنْ يُتمَّ صومه فلم يجعل قيامه وبروزه للشمس قربةً يُوفى بنذرهما . وقد روي أنَّ ذلك كان في يوم جمعة عندَ سماع خطبة النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - وهو على المنبر، فنذر أنْ يقومَ ولا يقعدَ ولا يستظلَّ ما دامَ النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - يخطُبُ ، إعظاماً لسماع خطبة النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، ولم يجعل النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - ذلك قربةً تُوفى بنذره ، مع أنَّ القيام عبادةٌ في مواضعَ أُخَر ، كالصلاةِ والأذان والدعاء بعرفة ، والبروز للشمس قربةٌ للمحرِم ، فدلَّ على أنَّه ليس كلُّ ما كان قربة في موطنٍ يكون قربةً في كُلِّ المواطن ، وإنَّما يتبع في ذلك ما وردت به الشريعةُ في مواضعها 

- ไม่จำเป็นว่าการทำอย่างหนึ่งอย่างใดเป็นการแสวงบุญในอิบาดะฮฺหนึ่ง จะเป็นการแสวงบุญในอิบาดะฮฺอื่น เช่น ท่านนบีเห็นชายคนหนึ่งยืนตากแดด (ขณะที่นบีคุฏบะฮ) นบีถามว่าทำไม มีคนตอบว่า เขาบนบานไว้ว่าจะยืนตากแดดและถือศีลอด(เพื่อให้เกียรติท่านนบี) 
นบีก็สั่งให้เขานั่งในที่ร่ม..และว่าการยืนตากแดดนั้นไม่ถือเป็นการแสวงบุญที่ต้องปฏิบัติตามที่บนบานไว้ ทั้งๆที่ในอิบาดะฮฺบางอย่างมีการยืน เช่น ยืนละหมาด, ยืนอะซาน, ยืนขอดุอาอฺที่อะรอฟะฮฺ, ฯลฯ
การตากแดดในการทำอิบาดะฮฺ เช่น ไปทำฮัจญ์ควรตากแดด ? -- ทัศนะของชีอะฮฺ
19.0 - นั่งอะซานได้มั้ย ? 
- การสร้างโดมมัสยิด มาจากไหน ? เสาอะซาน ?
- ปัจจุบันมีเครื่องเสียงแล้ว ต้องยืนอะซานมั้ย ? ต้องหันขวาและซ้าย ขณะอะซาน หรือไม่ ?

• وكذلك من تقرَّب بعبادة نُهِيَ عنها بخصوصها ، كمن صامَ يومَ العيد ، أو صلَّى في وقت النهي .
- ห้ามนำสิ่งที่ห้าม(หะรอม) มาเป็นผลบุญ เช่น ถือศีลอดวันอีด, ละหมาดในเวลาที่ถูกห้าม, 

---------------
بعض المخالفات ليست مردودة مطلقا
36.0 บางส่วนของสิ่งที่ขัดกับหลักการศาสนา ไม่ถือว่าปฏิเสธทั้งหมด

    وأمَّا من عمل عملاً أصلُه مشروعٌ وقربةٌ ، ثم أدخلَ فيه ما ليس بمشروع ، أو أخلَّ فيه بمشروع ، فهذا مخالفٌ أيضاً للشريعة بقدر إخلاله بما أخلَّ به ، أو إدخاله ما أدخلَ فيه ، وهل يكونُ عملُه من أصله مردوداً عليه أم لا ؟ فهذا لا يُطلق القولُ فيه بردٍّ ولا قَبولٍ ، بل يُنظر فيه : فإنَّ كان ما أخلَّ به من أجزاء العمل أو شروطه موجباً لبطلانه في الشريعة ، كمن أخلَّ بالطهارة للصلاة مع القُدرة عليها ، أو كمن أخلَّ بالرُّكوع ، أو بالسجود ، أو بالطُّمأنينة فيهما ، فهذا عملُه مردودٌ عليه ، وعليه إعادتُه إنْ كان فرضاً ، وإنْ كان ما أخلَّ به لا يُوجِبُ بُطلانَ العمل ، كمن أخلَّ بالجماعة للصلاة المكتوبة عند من يُوجِبُها ولا يجعلُها شرطاً ، فهذا لا يُقالُ : إنَّ عمله مردودٌ من أصله ، بل هو ناقصٌ .
- ใครกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด รูปแบบโดยทั่วไปถูกบัญญัติไว้(แสวงบุญได้) แต่เขาเอาสิ่งอื่นมาเสริมเพิ่มเติม หรือบกพร่องในบางส่วน (ไม่ได้ปฏิบัติตามหลักการทั้งหมด) ก็ถือว่าขัดกับหลักการศาสนาเท่าที่เขาบกพร่องหรือเพิ่มเติมไป --  แบบนี้ถูกผลัก(ปฏิเสธ)ทั้งหมดหรือบางส่วน ? 
ตอบ ต้องพิจารณาเป็นกรณีๆไป 
1- ถ้าส่วนที่ตัดหรือเพิ่ม เป็นส่วนสำคัญในอิบาดะฮฺนั้นๆ อันจะส่งผลให้เกิดความโมฆะ เช่น ละหมาดโดยไม่ได้อาบน้ำละหมาด, บกพร่องในการละหมาด เช่น ความสงบในรุกัวะและสุจูด, ไม่สมบูรณ์, เร็ว ฯลฯ -- อะมั้ลเช่นนี้ถูกปฏิเสธ จำเป็นต้องชดใช้
45.40 2- ถ้าส่วนที่เติมหรือขาด ไม่ส่งผลให้โมฆะ เช่น ไม่ละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสจิด แต่ละหมาดที่บ้าน - การละหมาดที่บ้านถือว่าบกพร่อง แต่ไม่โมฆะ, 
-----------
اختلاط العبادة بمنهي
อิบาดะฮฺไปปะปนกับสิ่งที่ต้องห้ามที่เพิ่มเติมมาเอง

• وإنْ كان قد زاد في العمل المشروع ما ليس بمشروع ، فزيادته مردودةٌ عليه ، بمعنى أنَّها لا تكونُ قربةً ولا يُثابُ عليها ، ولكن تارة يبطُلُ بها العمل من أصله ، فيكون مردوداً ، كمن زاد في صلاته ركعةً عمداً مثلاً ، وتارةً لا يُبطله ، ولا يردُّه من أصله ، كمن توضأ أربعاً أربعاً ، أو صام الليل مع النهار ، وواصل في صيامه ، 
ส่วนที่เติมไปนั้นถูกผลัก(ปฏิเสธ) จะแสวงบุญไม่ได้ โมฆะ ไม่มีผลบุญ แต่บางครั้งทำให้อิบาดะฮฺโมฆะทั้งหมด เช่น เช่น เพิ่มเติมในการละหมาด เพิ่มจาก 4 เป็น 5 ร็อกอะฮฺ, เพิ่มสุจูด
- บางกรณีเพิ่มเติม แต่ไม่โมฆะ เช่น อาบน้ำละหมาดโดยล้างอวัยวะ 4 ครั้ง (ในซุนนะฮฺมี 1-3 ครั้ง, ห้ามเกินเพราะมุบัซซิร) ถือว่าอาบน้ำละหมาดใช้ได้ ไม่โมฆะ ไม่ต้องอาบใหม่, ถือศีลอดติดต่อกันทั้งวันทั้งคืน หลายวัน (วิศอล), 
- คนที่วิสวัสในขณะอาบน้ำละหมาด มีชัยฏอนชื่อ คอนซับ ขัดขวางคนอาบน้ำละหมาด
- การชำระนะญาซะฮฺด้วยก้อนหิน ทิชชู่ ฯลฯ ถือว่าใช้ได้ 

وقد يبدَّلُ بعض ما يُؤمر به في العبادة بما هو منهيٌّ عنه ، كمن ستر عورتَه في الصَّلاة بثوب مُحرَّم ، أو تؤضَّأ للصلاة بماءٍ مغصُوبٍ ، أو صلَّى في بُقعةٍ غَصْبٍ ، فهذا قد اختلفَ العُلماءُ فيه : هل عملُه مردودٌ من أصله ، أو أنَّه غير مردود ، وتبرأ به الذِّمَّةُ من عُهدة الواجب ؟ وأكثرُ الفُقهاء على أنَّه ليس بمردود من أصله ،
57.26 บางคนเปลี่ยนบางสิ่งในอิบาดะฮฺ ด้วยสิ่งที่ถูกห้าม เช่น 
- ผู้ชายใส่เสื้อผ้าไหมละหมาด หรือเสื้อผ้าที่ขโมยมา,  น้ำที่อาบน้ำละหมาด เป็นน้ำที่ถูกขโมยมา, ละหมาดบนพื้นที่ที่ยืดหรือขโมยมา, ผู้ชายใส่เครื่องประดับทอง ในขณะละหมาด -- กรณีเหล่านี้ อิบาดะฮฺอาจถูกปฏิเสธทั้งหมดหรือไม่ถูกปฏิเสธ อุละมาอฺส่วนมาเห็นว่า ถือว่าทำอิบาดะฮฺแล้ว(อิบาดะฮฺนั้นเศาะหฺ) แต่ไม่มีผลบุญ

 وقد حكى عبدُ الرحمان بنُ مهدي ، عن قومٍ من أصحاب الكلامِ يقال لهم : الشِّمريَّة أصحاب أبي شمر أنَّهم يقولون : إنَّ من صلَّى في ثوبٍ كان في ثمنه درهمٌ حرامٌ أنَّ عليه إعادة صلاته ،، وقد استنكر هذا القول وجعله بدعةً ، فدلَّ على أنَّه لم يُعلم عن أحدٍ من السَّلف القولُ بإعادة الصَّلاة في مثل هذا ويشبه هذا الحجُّ بمالٍ حرامٍ ، وقد ورد في حديثٍ أنَّه مردودٌ على صاحبه ، ولكنَّه حديث لا يثبت ، وقد اختلف العلماء هل يسقط به الفرض أم لا ؟
- เสื้อผ้าที่ซื้อโดยเงินหะรอม 1% นำมาใส่ละหมาด ? อัศฮาบุลกะลามว่า ละหมาดนั้นโมฆะ -- แต่อุละมาอฺส่วนมากไม่เห็นด้วย
- ทำฮัจญ์ด้วยทรัพย์สินที่หะรอม ? -- อุละมาอฺส่วนมากว่า เศาะหฺ แต่ไม่มีผลบุญ
- เชือดสัตว์ด้วยเครื่องมือที่หะรอม เช่น ขโมยมา - อุละมาอฺส่วนมากว่า การเชือดนั้นหะรอม แต่สัตว์นั้นกินได้ 
- การช็อตไก่ก่อนเชือด
- คนที่ไม่อนุญาตให้เชือดม มาเชือดสัตว์ เช่น คนขโมย, คนที่ครองอิหฺรอม(ห้ามเชือดสัตว์) ?

• وقريب من ذلك الذَّبحُ بآلة محرَّمة ، أو ذبحُ مَنْ لا يجوزُ له الذبحُ، كالسارق ، فأكثرُ العلماء قالوا : إنَّه تُباح الذبيحة بذلك ، ومنهم من قال : هي محرَّمةٌ ، وكذا الخلاف في ذبح المُحْرِم لِلصَّيدِ ، لكن القول بالتَّحريم فيه أشهرُ وأظهرُ ؛ لأنَّه منهيٌّ عنه بعينه .

----------
إذا اختص النهي بشيء في عبادة 
การทำข้อห้ามอื่นๆ ในอิบาดะฮฺ

•    ولهذا فرَّق مَنْ فرَّق مِنَ العُلماء بين أنْ يكون النَّهيُ لمعنى يختصّ بالعبادة فيبطلها ، وبين أنْ لا يكون مختصاً بها فلا يبطلها ، فالصلاة بالنجاسة ، أو بغير طهارة ، أو بغير ستارة ، أو إلى غير القبلة يُبطلها ، لاختصاص النهي بالصلاة بخلاف الصلاة في الغصب ، ويشهدُ لهذا أنَّ الصيام لا يبطله إلاَّ ارتكابُ ما نهي عنه فيه بخصوصه ، وهو جنسُ الأكل والشرب والجماع ، بخلاف ما نهي عنه الصائم ، لا بخصوص الصيام ، كالكذب والغيبة عند الجمهور .
•    وكذلك الحجُّ لا يبطله إلا ما نهي عنه في الإحرام ، وهو الجماعُ ، ولا يبطله ما لا يختصُّ بالإحرام من المحرَّمات ، كالقتل والسرقة وشرب الخمر .
•    وكذلك الاعتكافُ : إنَّما يبطل بما نهي عنه فيه بخصوصه ، وهو الجماعُ ، وإنَّما يبطل بالسُّكر عندنا وعند الأكثرين ، لنهي السَّكران عن قربان المسجد ودخوله على أحدِ التأويلين في قوله تعالى : { لا تَقْرَبُوا الصَّلاةَ وَأَنْتُمْ سُكَارَى }  أنَّ المرادَ مواضع الصلاة ، فصار كالحائض ، ولا يبطلُ الاعتكافُ بغيره من ارتكابه الكبائر عندنا وعندَ كثيرٍ من العلماء ، وقد خالف في ذلك طائفةٌ من السَّلف ، منهم : عطاء والزُّهري والثوري ومالك ، وحُكي عن غيرهم أيضاً .
- การทำข้อห้ามในอิบาดะฮฺ เช่น ละหมาดโดยมีนะญาซะฮฺปะปนบนตัวหรือเสื้อผ้า หรือมีหะดัษ หรือไม่ได้อาบน้ำละหมาด ไม่ปิดบังเอาเราะฮฺ ไม่หันไปทางกิบละฮฺ -- ถือว่าละหมาดโมฆะ
- ทำข้อห้ามอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับอิบาดะฮฺ เช่น นินทาขณะถือศีลอด ศีลอดไม่โมฆะ แต่ลดผลบุญ, ขโมยขณะครองอิหฺรอม
- คนเมา ห้ามละหมาด ห้ามเข้ามัสยิด
- ทำสิ่งหะรอม ขณะอิอฺติก้าฟ

1.24 ข้อสรุป - อิบาดะฮฺทุกชนิด ต้องรักษารูปแบบที่อิสลามกำหนดไว้ ไม่ต่อเติมหรือตัดทอน เพราะการลดหรือเพิ่มนั้นอาจทำให้อิบาดะฮฺนั้นโมฆะ หรือลดผลบุญ//

 

WCimage
หะดีษที่ 5/2 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก