อย่าหันหลังให้กัน (อย่าตัดขาดกัน)

อย่าหันหลังให้กัน (อย่าตัดขาดกัน)

Submitted by dp6admin on Mon, 27/09/2021 - 21:39
หัวข้อเรื่อง
หะดีษที่ 35/5-1 อย่าหันหลังให้แก่กัน (อย่าตัดขาดกัน)
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ท่านทั้งหลายอย่าได้อิจฉาริษยากันและกัน อย่าแย่งผลประโยชน์กัน อย่าโกรธกัน อย่าหันหลังให้แก่กัน อย่าซื้อขายโดยหักหลังซึ่งกันและกัน(ตัดหน้า) จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง – เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม

 
(( ولا تدابروا )) - อย่าหันหลังให้กัน (อย่าตัดขาดกัน)
 

وقوله : (( ولا تدابروا )) قال أبو عبيد : التَّدابر : المصارمة والهجران ، مأخوذ من أن يُولِّي الرَّجلُ صاحبَهُ دُبُرَه ( ) ، ويُعرِض عنه بوجهه ، وهو التَّقاطع .

มาจากรากศัพท์ “ดุบุร” คือด้านหลัง
وخرَّج مسلم ( ) من حديث أنسٍ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( لا تحاسدُوا ، ولا تَبَاغَضُوا ، ولا تَقَاطعُوا ، وكونوا عِبادَ الله إخواناً كما أمركُم الله )) . وخرَّجه ( ) أيضاً بمعناه من حديث أبي هريرة عن النَّبيِّ  .
وفي " الصحيحين " ( ) عن أبي أيوب ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( لا يَحِلُّ لمسلمٍ أنْ يهجرَ أخاه فوق ثلاثٍ ، يلتقيان ، فيصدُّ هذا ، ويصدُّ هذا ، وخيرُهما الَّذي يَبدأ بالسَّلام )) .
"ไม่อนุญาตสำหรับมุสลิมที่จะตัดขาดพี่น้องของเขามากกว่า 3 วัน, เมื่อมาพบกัน, คนนี้ก็หัน, คนนั้นก็หัน, คนที่ดีกว่าคือคนที่ให้สลามก่อน"
 
وخرَّج أبو داود ( ) من حديث أبي خراش السُّلميِّ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( مَنْ هَجر أخاه سنةً ، فهو كسفكِ دمه )) .
“ผู้ใดที่ตัดขาดพี่น้องเขา 1 ปี เปรียบเสมือนประหัตประหารกัน(ฆ่ากันตาย”
 
ทั้งหมดข้างต้นนี้คือเรื่องเกี่ยวกับดุนยา สำหรับการตัดขาดในด้านศาสนากรณีที่อนุญาตให้กระทำได้คือ ผู้ทำบิดอะฮฺมุฆ็อลละเซาะฮฺ(บิดอะฮฺร้ายแรง)
وكلُّ هذا في التَّقاطع للأمورِ الدُّنيويَّة ، فأمَّا لأجلِ الدِّين ، فتجوزُ الزِّيادةُ على الثلاثِ ( ) ، نصَّ عليه الإمام أحمدُ ، واستدلَّ بقصَّةِ الثَّلاثةِ الَّذينَ خُلِّفوا ، وأمر النَّبيُّ  بهجرانهم لمَّا خاف منهمُ النِّفاق ، وأباح هِجران أهلِ البدع المغلَّظة والدعاة إلى الأهواء ، وذكر الخطابي أنَّ هِجران الوالدِ لولده ، والزَّوج لزوجته ، وما كان في معنى ذلك تأديباً تجوزُ الزِّيادة فيه على الثَّلاث ؛ لأنَّ النَّبيَّ  هجر نساءه شهراً ( ) .
 
การเลิกโกรธกัน แค่สลามกันพอมั้ย ?
واختلفوا : هل ينقطع الهِجران بالسَّلام ؟ فقالت طائفةٌ : يَنقطِعُ بذلك ، ورُوي عن الحسن ومالكٍ في رواية ابن وهبٍ  ، وقاله طائفةٌ من أصحابنا ، وخرَّج أبو داود  من حديث أبي هريرة عن النَّبيِّ  قالَ : (( لا يحلُّ لمؤمنٍ أنْ يهجُرَ مؤمناً فوق ثلاثٍ ، فإن مرَّت به ثلاثٌ ، فليلقَهُ ، فليسلِّم عليهِ ، فإن ردَّ عليهِ السَّلامَ ، فقد اشتركا في الأجر ، وإن لم يردَّ عليهِ ، فقد باءَ بالإثم ، وخرج المُسلِّمُ من الهجرة )) . ولكن هذا فيما إذا امتنع الآخرُ من الرَّدِّ عليهِ ، فأمَّا معَ الرَّدِّ إذا كانَ بينهما قبل الهجرةِ مودَّةٌ ، ولم يعودا إليها ، ففيه نظر . وقد قالَ أحمد في رواية الأثرم ، وسئل عن السَّلام : يقطعُ الهِجران ؟ فقال : قد يُسلم عليه وقد صَدَّ عنه ( ) ، ثم 
قال النَّبيُّ  يقول : (( يلتقيان فيصدُّ هذا ، ويصدُّ هذا )) ، فإذا كان قد عوَّده أنْ يُكلِّمه أو يُصافحه . وكذلك رُوي عن مالكٍ أنَّه لا تنقطعُ الهجرة بدونِ العود إلى المودَّة ( ) .
وفرَّق بعضُهم بين الأقارب والأجانب ، فقال في الأجانب : تزول الهجرةُ بينهم بمجرَّد السَّلام ، بخلافِ الأقارب ، وإنَّما قال هذا لوجوب صلة الرَّحِمِ .
 
ความยาว(นาที)
38 นาที