ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 58 (หะดีษที่ 13/3)

Submitted by dp6admin on Sat, 29/06/2019 - 11:35
หัวข้อเรื่อง
- การอิจฉา, ตั้งใจจะทำความดี, ตะกับบร(เย่อหยิ่ง) التكبُّر,
- อัลอีมานุวาญิบ - ไม่ใช่รุกุ่น แต่ถ้าหายไป เป็นบาป แต่รากฐานของอีมานยังอยู่ เช่น ความเลื่อมใสต่อหลักการอิสลาม, ความรักต่อพี่น้องมุสลิม, การให้เกียรติผู้รู้, ฯลฯ
- ทำยังไงให้เราชอบในสิ่งที่พี่น้องมุอฺมินชอบ ?
หัวใจของเราต้องปราศจากความแค้น ความไม่บริสุทธิ์ใจ และการอิจฉาริษยาต่อพี่น้องมุอฺมิน
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
30 ญุมาดัลอูลา 1431
วันที่บรรยาย
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

หะดีษที่  13

عَنْ أَبِي حَمْزَةَ  أَنَسِ بْنِ مَالِكٍ رضي الله عنة  خَادِمِ رَسُولِ اللهِ صلى الله عليه وسلم ، عَنِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم قَالَ  :  (( لاَ يُؤْ مِنُ أَحَدُكُمْ حَتَّى يُحِبَّ لأَخِيهِ مَا يُحِبُّ لِنَفْسِهِ ))  رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ .

จากอบูฮัมซะฮฺ (อะนัส บินมาลิก) เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ  ผู้รับใช้ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม  ได้กล่าวว่า “การศรัทธาของคนหนึ่ง ๆ ไม่สมบูรณ์ จนกว่าเขาจะรักให้พี่น้องของเขา (มุสลิมด้วยกัน) ได้รับเช่นเดียวกับที่ตัวของเขาเองรักที่ได้รับ”  หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม

รากฐานของอีมาน(อัศลุลอีมาน) คือรุกุนอีมาน 6 ประการ
อัลอีมานุวาญิบ - ไม่ใช่รุกุ่น แต่ถ้าหายไป เป็นบาป แต่รากฐานของอีมานยังอยู่  เช่น ความเลื่อมใสต่อหลักการอิสลาม, ความรักต่อพี่น้องมุสลิม, การให้เกียรตผู้รู้, ฯลฯ

ทำยังไงให้เราชอบในสิ่งที่พี่น้องมุอฺมินชอบ ?

 سلامةِ الصدر من الغلِّ والغشِّ والحسدِ
หัวใจของเราต้องปราศจากความแค้น ความไม่บริสุทธิ์ใจ และการอิจฉาริษยาต่อพี่น้องมุอฺมิน

จากหะดีษที่ 13 หมายรวมว่า มุอฺมินต้องดีใจในส่ิงที่พี่น้องมุอฺมินดีใจ ประสงค์ให้พี่น้องมุอฺมินประสบสิ่งดีที่ตนเองประสงค์

ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ด้วยหัวใจที่ปราศจากความแค้น ไม่บริสุทธิ์ใจ และการอิจฉาริษยา, เพราะการอิจฉาริษยานั้นหมายรวมว่า เกลียดที่จะให้คนอื่นเด่นกว่าเขาดีกว่าเขา แม้จะประสบความดีมากกว่า หรือจะเท่าเทียมกันก็ไม่ยอม เนื่องจากผู้อิจฉาต้องการที่จะเด่นกว่าผู้อื่นด้วยคุณงามความดี อยากเป็นตัวอย่างด้านความดีในสังคมคนเดียว คนที่มีอีมานไม่ควรจะเป็นเช่นนั้น มุอฺมินชอบให้ผู้ศรัทธาทั้งหลายมีหุ้นส่วนในความดีที่เขาได้ทำ โดยที่มันจะไม่กระทำต่อผลบุญที่เขาปรารถนาจากอัลลอฮฺ
------

 وقد مدح الله تعالى في كتابه من لا يُريد العلوَّ في الأرض ولا الفساد ، فقال :{ تلْكَ الدَّارُ الآخِرَةُ نَجْعَلُهَا لِلَّذِينَ لا يُرِيدُونَ عُلُوّاً فِي الأَرْضِ وَلا فَسَاداً }  . وروى ابنُ جريرٍ بإسنادٍ فيه نظرٌعن عليٍّ رضي الله عنة ، قال : إنَّ الرَّجُلَ ليُعْجِبهُ مِن شِراكِ نعله أنْ يكونَ أجود من شراكِ صاحبه فَيدْخُلُ في قوله : { تِلْكَ الدَّارُ الآخِرَةُ نَجْعَلُهَا لِلَّذِينَ لا يُرِيدُونَ عُلُوّاً فِي الأَرْضِ وَلا فَسَاداً وَالْعَاقِبَةُ لِلْمُتَّقِينَ }  .

อัลลอฮฺสรรเสริญคนที่ทำความดี และปรารถนาให้คนอื่นทำดีด้วย สวรรค์ถูกเตรียมไว้สำหรับคนที่ไม่อยากจะโดดเด่น เด่นดังในโลกนี้
----------

อัลลอฮฺจะไม่ให้เข้าสวรรค์ คนที่ในหัวใจของเขามีละอองของตะกับบร(เย่อหยิ่ง)แม้แต่น้อย
 حديث عبد الله بن مسعود رضي الله عنه عَنْ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ قَالَ:(( لا يَدْخُلُ الْجَنَّةَ مَنْ كَانَ فِي قَلْبِهِ مِثْقَالُ ذَرَّةٍ مِنْ كِبْرٍ، قَالَ رَجُلٌ: إِنَّ الرَّجُلَ يُحِبُّ أَنْ يَكُونَ ثَوْبُهُ حَسَنًا، وَنَعْلُهُ حَسَنَةً، قَالَ: إِنَّ اللَّهَ جَمِيلٌ يُحِبُّ الْجَمَالَ، الْكِبْرُ بَطَرُ الْحَقِّ، وَغَمْطُ النَّاسِ))[ مسلم، الترمذي، أبو داود، ابن ماجه، أحمد ]

- ใช้ของสวยๆดีๆ ได้ แต่อย่าโอ้อวด และไม่ดูถูกคนอื่น
- คนอิ่จฉา จะดีใจที่เห็นคนอื่นด้อยกว่า และเสียใจที่เห็นคนอื่นเด่นกว่า

ตะกับบร(เย่อหยิ่ง)  التكبُّر
 ما هو الكِبر؟ อะไรคือ ตะกับบร(ความยโส) ?

•    وقد ورد ما يَدُلُّ على أنَّه لا يأثم مَنْ كره أنْ يفوقَه من الناسِ أحدٌ في الجمال ، فخرَّج الإمامُ أحمدُ   - والحاكم في " صحيحه " من حديث ابن مسعود رضي الله عنة ، قال : أتيتُ النَّبيَّ - وعنده مالكُ بن مرارةَ الرَّهَاوِيُّ ، فأدركتُه وهو يقول : يَا رسولَ الله ، قد قُسِمَ لي من الجمال ما ترى ، فما أحبُّ أحداً من النَّاس فضلني بشِراكَيْن فما فوقهما ، أليس ذلك هو من البَغي ؟ فقال : (( لا ، ليس ذلك بالبغي ، ولكن البغي من بَطِرَ - أو قال : سفه - الحقَّ وغَمط الناس )) .

•    فنفى أنْ تكونَ كراهتُه  لأنْ يَفوقَهُ أحدٌ في الجمال بغياً أو كبراً ، وفسَّر الكبر والبغي ببطر الحقِّ وغمط الناس ، وهو التكبُّر عليه ، والامتناع مِن قبوله كِبراً إذا خالف هواه . ومن هنا قال بعض السَّلف : التَّواضُعُ أنْ تَقْبَلَ الحقَّ مِن كلِّ من جاء به ، وإنْ كان صغيراً ، فمن قَبِلَ الحقَّ ممَّن جاء به ، سواء كان صغيراً أو كبيراً ، وسواء كان يحبُّه أو لا يحبه ، فهو متواضع ، ومن أبى قَبُولَ الحقِّ تعاظُماً عليه ، فهو متكبِّرٌ . وغمط الناس : هو احتقارُهم وازدراؤهم ، وذلك يحصُل مِنَ النَّظرِ إلى النَّفس بعينِ الكمالِ ، وإلى غيره بعينِ النَّقص .

ตะกับบรเกิดจากการมองตัวเองว่าสมบูรณ์ และมองว่าคนอื่นบกพร่อง

ความถ่อมตนของสลัฟ  - ฟุฎ็อยลฺ อิบนุอิยาฎ

 تمني ما عند الناس من الخير  อยากได้ความดีเหมือนคนอื่น ผิดมั้ย ?

وفي الجملة : فينبغي للمؤمن أنْ يُحِبَّ للمؤمنينَ ما يُحبُّ لنفسه ، ويكره لهم ما يكره لِنفسه ، فإنْ رأى في أخيه المسلم نقصاً في دينه اجتهدَ في إصلاحه .
قال بعضُ الصالحين مِن السَّلف : أهلُ المحبة لله نظروا بنور الله ، وعطَفُوا على أهلِ معاصي الله ، مَقَتُوا أعمالهم ، وعطفوا عليهم ليزيلوهُم بالمواعظ عن فِعالهم ، وأشفقوا على أبدانِهم من النار ،
คนที่รักอัลลอฮฺจริง มองด้วยรัศมีของอัลลอฮฺ เขาเกลียดพฤติกรรม แต่สงสารคนกระทำ เขาจะตักเตือนและเรียกร้องให้ละทิ้งความชั่ว ไม่อยากให้พี่น้องของเขาเป็นเชื้อเพลิงนรก

 لا يكون المؤمنُ مؤمناً حقاً حتى يرضى للناسِ ما يرضاه لنفسه ،
มุอฺมินจะไม่เป็นมุอฺมินแท้จริง จนกว่าจะพอใจให้พี่น้องประสบสิ่งที่ตนเองพอใจ

ถ้าเห็นคนอื่นประเสริฐกว่าเรา และเราปรารถนาได้สิ่งนั้นล่ะ ?
وإنْ رأى في غيره فضيلةً فاق بها عليه فيتمنى لنفسه مثلها ، فإنْ كانت تلك الفضيلةُ دينية ، كان حسناً ، وقد تمنى النَّبيُّ - لنفسه منْزلةَ الشَّهادة.

ไม่อนุญาตให้อิจฉากัน ยกเว้น 3 กรณี
وقال : (( لا حسدَ إلاَّ في اثنتين : رجل آتاهُ الله مالاً ، فهو يُنفقهُ آناءَ الليلِ وآناءَ النَّهارِ ، ورجُلٌ آتاهُ الله القرآن ، فهو يقرؤهُ آناءَ الليل وآناءَ النهار )). وقال في الذي رأى مَنْ ينفق مالَه في طاعة الله ، فقال : (( لو أنَّ لي مالاً ، لفعلتُ فيه كما فعل ، فهما في الأجر سواءٌ )) وإنْ كانت دنيويةً ، فلا خيرَ في تمنيها ،

 وَمِنْهُم مَّنْ عَاهَدَ اللَّـهَ لَئِنْ آتَانَا مِن فَضْلِهِ لَنَصَّدَّقَنَّ وَلَنَكُونَنَّ مِنَ الصَّالِحِينَ ﴿٧٥﴾
9:75 “และในหมู่พวกเขานั้นมีผู้ที่ได้สัญญาแก่อัลลอฮ์ว่า ถ้าหากพระองค์ได้ทรงประทานแก่พวกเรา ซึ่งส่วนหนึ่งจากความกรุณาของพระองค์แล้วไซร้ แน่นอนเหลือเกิน พวกเราจะบริจาคทานและแน่นอนพวกเราจะได้เป็นผู้อยู่ในหมู่คนดี”

فَلَمَّا آتَاهُم مِّن فَضْلِهِ بَخِلُوا بِهِ وَتَوَلَّوا وَّهُم مُّعْرِضُونَ ﴿٧٦﴾
9:76 “ครั้นเมื่อพระองค์ได้ทรงประทานให้แก่พวกเขา ซึ่งส่วนหนึ่งจากความกรุณาของพระองค์พวกเขาก็ตระหนี่ในส่วนนั้นและได้ผินหลังให้ โดยที่พวกเขาเป็นผู้ผินหลังให้อยู่แล้ว”

فَأَعْقَبَهُمْ نِفَاقًا فِي قُلُوبِهِمْ إِلَىٰ يَوْمِ يَلْقَوْنَهُ بِمَا أَخْلَفُوا اللَّـهَ مَا وَعَدُوهُ وَبِمَا كَانُوا يَكْذِبُونَ ﴿٧٧﴾
9:77 “แล้วพระองค์ก็ทรงให้การกลับกลอกในหัวใจของพวกเขาเป็นผลลัพธ์ แก่พวกเขา จนกระทั่งถึงวันที่พวกเขาจะพบพระองค์ เนื่องจากการที่พวกเขาบิดพริ้วต่ออัลลอฮ์ ในสิ่งที่พวกเขาให้สัญญาไว้แก่พระองค์ และเนื่องจากการที่พวกเขาปฏิเสธ ”

คนที่อิจฉากอรูน

 كما قال تعالى : { فَخَرَجَ عَلَى قَوْمِهِ فِي زِينَتِهِ قَالَ الَّذِينَ يُرِيدُونَ الْحَيَاةَ الدُّنْيَا يَا لَيْتَ لَنَا مِثْلَ مَا أُوتِيَ قَارُونُ إِنَّهُ لَذُو حَظٍّ عَظِيمٍ وَقَالَ الَّذِينَ أُوتُوا الْعِلْمَ وَيْلَكُمْ ثَوَابُ اللهِ خَيْرٌ لِمَنْ آمَنَ وَعَمِلَ صَالِحاً }.
28:79-80  ดังนั้น เขาได้ออกไปหาพวกพ้องของเขาด้วยเครื่องประดับอย่างโอ่อ่าของเขา บรรดาผู้ปรารถนาชีวิตแห่งโลกนี้ กล่าวว่า “โอ้ หากเราไม่มีเช่นที่กอรูนได้ถูกประทานมา แท้จริงเขาเป็นผู้มีโชควาสนายิ่งใหญ่จริง ๆ” และบรรดาผู้ได้รับความรู้ กล่าวว่า “ความวิบัติแด่พวกท่าน ! ผลบุญแห่งอัลลอฮ์นั้นดีกว่าแก่ผู้ศรัทธาและกระทำความดี

إِنَّ قَارُونَ كَانَ مِن قَوْمِ مُوسَىٰ فَبَغَىٰ عَلَيْهِمْ ۖ وَآتَيْنَاهُ مِنَ الْكُنُوزِ مَا إِنَّ مَفَاتِحَهُ لَتَنُوءُ بِالْعُصْبَةِ أُولِي الْقُوَّةِ إِذْ قَالَ لَهُ قَوْمُهُ لَا تَفْرَحْ ۖ إِنَّ اللَّـهَ لَا يُحِبُّ الْفَرِحِينَ  ﴿٧٦﴾
28:76 แท้จริงกอรูนมาจากพวกพ้องของมูซา(*1*)เขาได้กดขี่ต่อพวกเขา และเราได้ประทานทรัพย์สมบัติมากมาบแก่เขา จนกระทั่งลูกกุญแจทั้งหลายของมันนั้น เมื่อคนแข็งแรงกลุ่มหนึ่งยกแบกด้วยความยากลำบาก(*2*)เมื่อพวกพ้องของเขา กล่าวแก่เขาว่า”อย่าได้หยิ่งผยอง เพราะแท้จริงอัลลอฮไม่ทรงโปรดบรรดาผู้หยิ่งผยอง”

•    وأما قول الله - عز وجل - : { وَلا تَتَمَنَّوْا مَا فَضَّلَ اللهُ بِهِ بَعْضَكُمْ عَلَى بَعْضٍ }  ،
4:32  และจงอย่าปรารถนาในสิ่งที่อัลลอฮฺได้ทรงให้แก่บางคนในหมู่พวกเจ้าเหนือกว่าอีกบางคน

 فقد فُسِّرَ ذلك بالحسد ، وهو تمنِّي الرجل نفس ما أُعطي أخوه من أهلٍ ومال ، وأنْ ينتقل ذلك إليه ، وفُسِّرَ بتمني ما هو ممتنع شرعاً أو قدراً ، كتمني النِّساءِ  أنْ يكنَّ رجالاً ، أو يكون لهن مثلُ ما للرجالِ من الفضائلِ الدينية كالجهاد ، والدنيوية كالميراثِ والعقلِ والشهادةِ