حكم تارك الصلاة โทษของการทิ้งละหมาด
حكم تارك الزكاة والصوم والحج - หุกุ่มของผู้ที่ทิ้งซะกาต ศีลอด ฮัจญฺ (เช่นเดียวกับผู้ทิ้งละหมาดไหม)
الأركان مرتبطة ببعضها
5 รุกุ่นนี้เกี่ยวพันกัน (เกี่ยวข้องประสานกัน อยู่ด้วยกัน)
الحدِيْثُ الـثّـَا لِثُ
عَنْ أَبِي عَبْدِالرَّحْمنِ عَبْدِ اللهِ بْنِ عُمَرَ بْنِ الْخَطَّابِ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا قَالَ : سَمِعْتُ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يَقُوْلُ :
(( بُنِيَ الإِسْلاَمُ عَلَى خَمْسٍ : شَهَادَةِ أَنْ لاَ إِلهَ إِلاَّ اللهُ وَأَنَّ مُحَمَّدًا وَسُوْلُ اللهِ ، وَإِقَامِ الصَّلاَةِ ، وَإِيْتَاءِ الزَّكَاةِ ، وَحَجِّ الْبَيْتِ ، وَصَوْمِ رَمَضَانَ )) رَوَاهُ الْبُخَاريُّ وَمُسْلِمٌ .
จากอบูอับดุรเราะหฺมาน (อับดุลลอฮฺ บุตรของอุมัร บิน อัลค็อฏฏ๊อบ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา กล่าวว่า :
ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “อิสลามถูกสร้างบน 5 หลัก คือ ปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และมุฮัมมัดนั้นคือร่อซูล (ศาสนทูต / ผู้สื่อ) แห่งอัลลอฮฺ, ดำรงการละหมาด (เศาะลาฮฺ), จ่ายซะกาต, บำเพ็ญฮัจญฺ ณ บัยตุลลอฮฺ, ถือศีลอด (เศาว์ม) ในเดือนรอมฎอน” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม
- แต่ละสายรายงาน เรียงลำดับแตกต่างกัน
- เนื้อหาหะดีษนี้มีอยู่แล้วในหะดีษที่ 2 ฉะนั้นเนื้อหาหลักไม่ใช่การอธิบายแต่ละรุกุ่น แต่จะอธิบาย "“อิสลามถูกสร้างบน 5 หลัก" เป็นสำคัญ
- อิบินุร่อจับเริ่มอธิบายเรื่องการละหมาดเป็นอันดับแรก เพราะเป็นเรื่องที่อาจมีข้อสงสัยหรือขัดแย้งกัน
حكم تارك الصلاة หุกุ่มของการทิ้งละหมาด
• والمرادُ من هذا الحديث أنَّ الإسلام مبنيٌّ على هذه الخمس ، فهي كالأركان والدعائم لبنيانه ، وقد خرَّجه محمدُ بنُ نصر المروزي في " كتاب الصلاة ولفظه : (( بُني الإسلام على خمسِ دعائم)) فذكره.
• وأما إقام الصَّلاة ، فقد وردت أحاديثُ متعددةٌ تدلُّ على أنَّ من تركها ، فقد خرج من الإسلام ، ففي " صحيح مسلم " عن جابر ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال :(( بَيْنَ الرجل وبَينَ الشِّركِ والكفرِ تركُ الصلاة )) ،
.
เกี่ยวกับเรื่องการละหมาด
มีหะดีษหลายบทหลายกระแสสื่อให้เข้าใจว่า ใครที่ละทิ้งละหมาดถือว่าได้ออกนอกกรอบอิสลาม
หะดีษ 1 ท่านนบีกล่าวว่า "ระหว่างคนๆหนึ่ง กับการเป็นมุชริกนั้น คือ การละหมาด
وخرَّج محمد بنُ نصر المروزيُّمن حديث عُبادة بنِ الصامت، عَنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم -، قال : (( لا تتركِ الصَّلاةَ متعمداً ، فمن تركها متعمداً ، فقد خرج من الملة )) .وفي حديث معاذ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - : (( رأسُ الأمر الإسلام ، وعمودُه الصَّلاةُ)) فجعل الصلاة كعمود الفسطاط الذي لا يقوم الفسطاطُ ولا يثبتُ إلا به ، ولو سقط العمودُ ، لسقط الفسطاط ، ولم يثبت بدونه
หะดีษ 2 ท่านนบีกล่าวว่า "โอ้อุบาดะฮฺเจ้าอย่าทิ้งละหมาดโดยเจตนา ใครตั้งใจทิ้งละหมาด ถือว่าได้ออกนอกศาสนา"
หะดีษ 3 ท่านนบีกล่าวว่า "หัวหน้าของกิจการต่างๆคือ อิสลาม, เสาหลักของอิสลามคือการละหมาด"
หะดีษนี้เปรียบการละหมาดประหนึ่งเสาของเต๊นท์ ซึ่งมันไม่สามารถกางอยู่ได้ เว้นแต่ต้องมีเสาที่มั่นคง...
อุละมาอฺส่วนมากเห็นว่า คนที่ทิ้งละหมาดไม่ใช่กาฟิร แต่ตามความเห็นศ่อฮาบะฮฺเห็นว่าไม่ใช่มุสลิม
ปัจจุบันให้ความสำคัญกับทัศนะนักวิชาการเหนือทัศนะของเศาะฮาบะฮฺ
• وقال عمر : لا حظَّ في الإسلام لمن تركَ الصلاة ، وقال سعد وعليُّ بنُ أبي طالبٍ : من تركها فقد كفر . وقال عبد الله بنُ شقيق : كانَ أصحابُ رسول الله - صلى الله عليه وسلم - لا يَرَونَ من الأعمال شيئاً تركه كفر غير الصلاة .
อุมัร "ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอิสลามเลย สำหรับคนที่บอกว่าเป็นมุสลิมแต่ไม่ละหมาด"
ซะอดฺและท่านอะลี "ใครทิ้งละหมาด เป็นกุฟุร"
อับดุลลอฮฺ อิบนีชะกี๊ก (ตาบิอีนรุ่นกลาง พบศ่อฮาบะฮฺ 20-30 ท่าน)) "เหล่าเศาะฮาบะฮฺไม่เห็นว่าอะไรเป็นกุฟรฺชัดๆ นอกจากการละหมาด"
• وقد استدلَّ أحمد وإسحاق على كفرِ تاركِ الصَّلاةِ بكفر إبليسَ بترك السجودِ لآدمَ ، وتركُ السُّجود لله أعظم .
อิมามอะหมัดและอิสฮาก - การทิ้งละหมาดเป็นกุฟรฺ เทียบกับอิบลีสที่ทิ้งการสุจุด เมื่ออัลลอฮฺสั่ง เพราะหยิ่ง
ใครที่สมควรเป็นอิมาม ?
- มีความรู้ในกุรอานมากกว่า ถ้าเท่าเทียมกัน ก็ให้ดูว่าใครมีความรู้ในซุนนะฮฺมากกว่ากัน ถ้าเท่าเทียมกันอีก ก็ให้ดูว่าใครอพยพก่อน (มีบทบาทในการต่อสู้เพื่ออิสลามมากกว่า)
• وفي " صحيح مسلم " عن أبي هريرة ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( إذا قرأ ابنُ آدم السَّجدةَ فسجدَ ، اعتزل الشيطان يبكي ويقول : يا ويلي أُمِرَ ابنُ آدمَ بالسُّجود ، فسجد ، فله الجنة ، وأُمرت بالسجود فأبيت ، فلي النار ))
ท่านนบี "เมื่อลูกหลานอาดัมได้อ่านกุรอานถึงสะจะดะฮฺหนึ่ง แล้วเขาได้สุจุด ชัยฏอนที่กำลังเฝ้าลูกหลานอาดัมขณะละหมาด มันจะห่างออกจากเขาและออกไปร้องไห้ และกล่วว่า หายนะประสบแก่ฉันแล้ว ลูกหลานอาดัมถูกสั่งให้สุจุด เขาก็สุจูดและจะได้เข้าสวรรค์ ส่วนฉันถูกสั่งให้สุจูด แต่ฉันไม่สุจุดก็จะต้องเข้านรก"
- อิมามอะหมัด คนที่รู้ว่าอัลลอฮฺให้ละหมาด แต่ไม่ยอมละหมาด ก็เช่นเดียวกับชัยฏอน
-----------
حكم تارك الزكاة والصوم والحج
หุกุ่มของผู้ที่ทิ้งซะกาต ศีลอด ฮัจญฺ (เช่นเดียวกับผู้ทิ้งละหมาดไหม)
• وذهبَ طائفةٌ من العلماء إلى أنَّ منْ تركَ شيئاً من أركان الإِسلام الخمسة عمداً أنَّه كافر بذلك
อุละมาอฺกลุ่มหนึ่งมีทัศนะว่า ใครทิ้ง 1 ใน 5 รุกุ่น ใครตั้งใจละทิ้ง ไม่ใช่มุสลิมเลย
• وخرَّج الدَّارقطني وغيرُه من حديثِ أبي هريرة قال : قيل : يا رسولَ الله الحج في كلِّ عام ؟ قال : ((لو قلتُ : نعم ، لوجب عليكم ، ولو وجب عليكم ، ما أطقتُموه ، ولو تركتموه لكفرتُم )) .
15 มีผู้ถามท่านนบีว่า "เราต้องทำฮัจญฺทุกปีไหม ?
ท่านนบีตอบว่า "ถ้าฉันตอบว่า ใช่ ก็จะเป็นวาจิบสำหรับพวกเจ้า และถ้ามันเป็นวาจิบแล้ว พวกเจ้าก็ไม่ไหวหรอก และถ้ามันเป็นวาจิบแล้วพวกเจ้าไม่ทำ ก็เป็นผู้ปฏฺิเสธแล้ว"
• وخرَّج اللالكائي من طريق مؤمَّل ، قال : حدثنا حمادُ بنُ زيد ، عن عمرو ابن مالك النُّكري ، عن أبي الجوزاء ، عن ابن عباس ، ولا أحسبه إلا رفعه قال :
(( عُرى الإسلامِ وقواعدُ الدِّين ثلاثةٌ ، عليهن أُسِّسَ الإسلامُ : شهادةُ أنْ لا إله إلاَّ الله وأنَّ محمداً رسولُ اللهِ والصَّلاةُ ، وصومُ رمضانَ . من ترك منهنَّ واحدةً ، فهو بها كافرٌ ، حلالُ الدَّمِ وتجدُه كثير المال لم يحجَّ ، فلا يزالُ بذلك كافراً ولا يحلُّ دمه ، وتجده كثيرَ المال فلا يزكِّي ، فلا يزالُ بذلك كافراً ولا يحلُّ دَمُهُ )) ورواه قتيبة بنُ سعيدٍ ، عن حماد بنِ زيد موقوفاً مختصراً ،
ورواه سعيدُ بنُ زيد أخو حماد ، عن عمرو بنِ مالك ، بهذا الإسناد مرفوعاً، وقال : (( من ترك منهنَّ واحدةً، فهو باللهِ كافرٌ ، ولا يُقبَلُ منه صرفٌ ولا عدلٌ ، وقد حلَّ دمُه ومالُه )) ولم يذكر ما بعده .
16 อิบนุอับบาส "บ่วงเชือกของอิสลาม(หลักของอิสลาม) 3 ประการ บนรากฐานนั้น อิสลามได้ถูกก่อขึ้นมา คือ ชะฮาดะฮฺ, ละหมาด, ศีอลดเดือนรอมะฎอน ใครทิ้ง 1 ใน 3 ก็ถือว่ากาฟิร ชีวิตของเขามไม่สามารถคุ้มครองได้ (ประหารได้)
- บางคนฐานะดี แต่ไม่ทำฮัจญฺ เป็นกาฟิร แต่ประหารฃีวิตไม่ได้, มีทรัพย์สิน แต่ไม่ซะกาต เป็นกาฟิร แต่ยังประหารไม่ได้
- มีอีกสายรายงานที่บอกว่านี่เป็นคำพูดของท่านนบี และตอนท้ายมีข้อความ "ใครทิ้ง 1 ใน 3 (ชะฮาดะฮฺ ละหมาด ศีลอด) ถือว่าเป็นผู้ปฏิเสธต่ออัลลอฮฺ การกระทำดีงามของเขาจะไม่ถูกตอบรับ ชีวิตและทรัพย์สินของเขาหะล้าล (ประหารและยึดทรัพย์ได้)"
• وقد رُويَ عن عمر ضربُ الجزية على من لم يحجَّ، وقال : ليسوا بمسلمين. وعن ابن مسعود : أنَّ تارك الزَّكاة ليس بمسلم، وعن أحمد رواية : أنَّ ترك الصلاة والزكاة خاصَّةً كفرٌ دونَ الصيام والحج .
19 มีรายงานว่าท่านอุมัรตั้งใจจะเก็บญิซยะฮฺ(ภาษีที่เก้ฐจากต่างศาสนิก) จากคนที่อ้างว่าเป็นมุสลิม แต่ไม่ทำฮัจญ, อุมัรบอกว่า พวกนี้ไม่ใช่มุสลิม....
อิมามอะหมัด - ใครทิ้งละหมาดและซะกาตเป็ฯกุฟรฺ แต่ถ้าทิ้งศีลอดและฮัจญฺ ไม่ถึงขั้นเป็นกาฟิร
• وقال ابن عيينة : المرجئة سَموا تركَ الفرائض ذنباً بمنزلة ركوبِ المحارم ، وليس سواء ؛ لأنَّ ركوب المحارم متعمداً من غير استحلالٍ معصيةٌ ،
وتركَ الفرائض من غير جهلٍ ولا عذرٍ هو كفر . وبيان ذلك في أمر إبليس وعلماء اليهودِ الذين أقرُّوا ببعث النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - بلسانهم ، ولم يعملوا بشرائعه.
- พวกมุรจิอะฮฺ ถือว่าการปฏิบัติคุณงามความดี ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของอีมาน อีมานคือความศรัทธาเท่านั้น, ทิ้งละหมาดเหมือนทำซินา ถ้าทำ ไม่กระทบอีมาน -- มันไม่เหมือนกัน การทำชั่วโดยเชื่อว่ามันหะรอมนั้นคือกุฟุร...
- การทิ้งฟัรฎูเลย (ละหมาด ซะกาต ฮัจย) ทั้งที่รู้ว่าเป็นวาจิบและไม่มีอุปสรรค
- ความประจักษ์ในเรื่องนี้ (รู้แต่ไม่ทำ) ปรากฏในเรื่องของอิบลีสและนักปราชญ์ยิว ที่เชื่อว่านบีมุฮัมมัดเป็นร่อซูล แต่ไม่ยอมรับศาสนาอิสลาม
สรุป
ตั้งใจทิ้งละหมาด เศาะฮาบะฮฺส่วนมากเห็นว่าเป็นกาฟิร
ทิ้งซะกาต ศีลอด ฮัจญฺ โดยไม่มีอุปสรรค มีทัศนะว่าเป็นกาฟิร
----------
الأركان مرتبطة ببعضها
5 รุกุ่นนี้เกี่ยวพันกัน (เกี่ยวข้องประสานกัน อยู่ด้วยกัน)
• . واعلم أنَّ هذه الدعائم الخمسَ بعضُها مرتبطٌ ببعض ، وقد روي أنَّه لا يُقبل بعضُها بدون بعض كما في "مسند الإمام أحمد" عن زياد بن نُعيم الحضرمي، قال: قال رسول الله - صلى الله عليه وسلم - : (( أربعٌ فرضهنّ الله في الإسلام ، فمن أتى بثلاثٍ لم يُغنين عنه شيئاً حَتّى يأتي بهنّ جميعاً: الصَّلاةُ، والزكاةُ، وصومُ رمضان، وحَجُّ البيتِ )) وهذا مرسل ، وقد روي عن زياد، عن عُمارةَ بن حزم، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم – كما رُوي نحو هذا عن عطاء الخراساني .
5 หลักนี้เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มีรายงานบอกว่า จะไม่รับซะกาต ศีลอด ฮัจญฺ จนกระทั่งได้ทำอย่างอื่นด้วย (ละหมาด ชะฮาดะฮฺ)
ท่านนบีกล่าวว่า "4 ประการ อัลลอฮฺได้บัญญัติเป็นฟัรฎู ใครกระทำ 3 ประการก็จะไม่ได้ผล (ไม่เพียงพอ) จนกระทั่งต้องปฏิบัติทั้งหมดคือ ละหมาด ซะกาต ศีลอดเดือนร่อมะฎอน ทำฮัจญฺ" -- หะดีษมุรซัล มีการตกเศาะฮาบะฮฺ ระหว่างตาบิอีนกับท่านนบี เป็นหะดีษอ่อน
• وقال ابنُ مسعود : من لم يزكِّ ، فلا صلاةَ له . ونفيُ القبولِ هنا لا يُراد به نفيُ الصِّحَّةِ ، ولا وجوب الإعادة بتركه ، وإنما يُراد بذلك انتفاء الرِّضا به ، ومدح عامله ، والثناء بذلك عليه في الملأ الأعلى ، والمباهاة به للملائكة .
29 อิบนิมัสอู๊ด - ใครที่ละหมาดแต่ไม่ซะกาต การละหมาดของเขาใช้ไม่ได้ ไม่ได้หมายรวมว่าการละหมาดนั้นโมฆะ และไม่ใช่ว่าต้องละหมาดใช้ (ละหมาดเศาะหฺ) แต่หมายถึงอัลลอฮฺไม่พอพระทัย ไม่สรรเสริญผู้กระทำ อัลลอฮฺจะไม่ยกย่องการทำดีของเขาต่อมะลาอิกะฮฺ
• فمن قام بهذه الأركان على وجهها ، حصل له القبول بهذا المعنى ، ومن قام ببعضها دُونَ بعضٍ ، لم يحصل له ذلك ، وإنْ كان لا يُعاقَبُ على ما أتى به منها عقوبةَ تاركه ، بل تَبرَأُ به ذمته ، وقد يُثابُ عليه أيضاً .
28 คนที่กระทำรุกุ่น 5 ประการนี้อย่างสมบูรณ์ อัลลอฮฺจะตอบรับการกระทำของเขา ใครได้ทำบางส่วน ทิ้งบางส่วน การตอบรับก็จะไม่เป็นเช่นนั้น
- 27 ละหมาดแต่ไม่ซะกาต อัลลอฮฺไม่พอพระทัย การละหมาดนั้นก็ไม่มีประโยชน์ แต่อัลลอฮฺจะไม่ลงโทษเค้าเหมือนคนไม่ละหมาด ถือว่าได้ทำหน้าที่ละหมาดแล้วและอาจได้ผลบุญบางส่วน
• ومن هنا يُعلَمُ أنَّ ارتكابَ بعضِ المحرماتِ التي ينقص بها الإيمانُ تكونُ مانعةً من قبول بعض الطاعات ، ولو كان من بعض أركان الإسلام بهذا المعنى الذي ذكرناه ، كما قال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - : (( مَنْ شرِبَ الخمرَ لم يقبل الله له صلاة أربعين يوماً )) حسنه الترمذي. وقال : (( مَنْ أتى عرَّافاً فصدَّقه بما يقولُ ، لم تُقبل له صلاة أربعين يوماً )) رواه أحمد ومسلم .
30 ทำบาปบางประการที่ทำให้อีมานลดลง อาจจะเป็นสาเหตุให้อัลลอฮฺไม่รับการงานดีก็ได้ เช่น กินดอกเบี้ย
เช่นที่นบีบอกว่า "ใครดื่มเหล้าแล้ว อัลลอฮฺจะไม่รับการละหมาดของเขา 40 วัน"
"ใครที่ไปหาหมอดูและเชื่อในสิ่งที่เขาพูด อัลลอฮฺไม่รับการละหมาดของเขา 40 วัน"
33 บาปที่เราทำ ย่อมมีผลกระทบต่อคุณงามความดี
- มุสลิมต้องมีจุดยืน
- อิมามบุคอรียฺถูกใส่ร้ายว่ามีอะกีดะฮฺของพวกมุอฺตะซิละฮฺ โดยอิมามอัซซุหฺรี อิมามมุสลิม(ซึ่งเป็นลูกศีษย์อิมามบุคอรียฺ) จึงประกาศไม่เป็นลูกศิษย์อัซซุหฺรี
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 174 views