ผลการดูหิล้าลปี ฮ.ศ. 1433

Submitted by dp6admin on Sat, 26/11/2011 - 06:57

redshift7premium

Thu, 19/07/2012 - 19:16

[20120719]

Assalamualaikum

ไม่สามารถอะมั้ล ฮะดิษนี้ได้ จริงหรือ ??? ?? ?  ฮะดิษที่ว่าคือ

ฮะดิษของท่านนบีมุฮำหมัด(ซ.ล.) ดังนี้غُمَّ عَلَيْكُمْ فَأَكْمِلُوْا عِدَّةَ شَعْبَانَ ثَلاَثِيْنَ يَوْمًا صُوْمُوْا لِرُؤْيَتِهِ ، وَأَفْطِرُوْا لِرُؤْيَتِهِ ،  فَإرواه البخاري (1810)  ومسلم (1080)

“ท่านทั้งหลาย จงถือศีลอดเพราะเห็นจันทร์เสี้ยว และจงละศีลอดเมื่อเห็นจันทร์เสี้ยว (เลิกถือศีลอด) ถ้าหากมีเมฆเกิดขึ้นเหนือพวกท่าน (มีเมฆมาปกคลุมทำให้ไม่เห็นจันทร์เสี้ยว) ก็ให้พวกท่านปล่อยเดือนซะบานให้ครบสามสิบวันเถิด (นับเดือนซะบานให้ครบสามสิบวัน)”  รายงานโดย บุคอรี (1810)และมุสลิม (1080)

เพราะด้วยกับวิทยาการที่ผู้สร้างได้ทยอยเปิดเผยให้มนุษย์นั้น ทำให้เครื่องมือสื่อสารที่สามารถติดต่อได้ทั่วโลกอย่างปัจจุบันนี้(1433H)

จันทร์เสี้ยวที่มีเพียงดวงเดียว(เหมือนดวงอาทิตย์) เคียงคู่ดาวเคราะห์สีฟ้านี้ จะถูกมวลเมฆขนาดใหญ่มาบดบัง ได้ครอบคลุมพื้นที่ทุกตารางเมตร ที่มีผู้คอยเฝ้าสังเกตจากทั่วทุกมุมโลก จนทำให้ไม่เห็นจันทร์เสี้ยว

ส่งผลให้เดือนซะบาน(หรือเดือนอื่นๆ) ไม่มีวันนับครบ 30 วัน ในกรณีนี้ตามสมมติฐานที่ว่า จันทร์เสี้ยวมีตัวต้นให้เห็นจริงๆ หลังดวงอาทิตย์ตกดินแล้ว (เงื่อนไขทางดาราศาสตร์สามารถเห็นด้วยตาเปล่าครบตามเกณฑ์ทุกข้อ)

ผู้ศรัทธาในยุคนี้จะไม่มีวัน นับวันในหนึ่งเดือนตามจันทรคติได้ครบ 30 วัน เนื่องจากมีเมฆบังได้เลย เพราะเป็นไปได้น้อยมากที่จะมีมวลเมฆขนาดยักษ์ปกคลุมผิวโลกได้ทั่วทั้งใบจนผู้ศรัทธาทั่วโลกต้อง ปล่อยเดือนซะบาน(หรือเดือนอื่นๆ)ให้ครบสามสิบวัน (ด้วยการนับเดือนซะบานหรือเดือนอื่นๆ ให้ครบสามสิบวัน)

redshift7premium

Sat, 18/08/2012 - 12:15

 รายงาน การเห็น ฮิลาล ที่ ประเทศ จีน  ในวันที่ 17082012 China:

  1. Seen: Dr. MusaทMinhai (MCW member) from Linxia Gansu Province reported: At about UT 13:30~13:50 (Beijing Time 21:30~21:50) Aug 17 2012, five men said that they had seen the Hilal of Shawwal at Lucaogou village in Xinjiang Provine in china, I know that was not true. but so some muslims decided that Aug.18.2012 is 1st day of Shawwal. Many other Muslims decaided that Aug.19.2012 is 1st of Shawwal (30 days completion)ที่มา : http://www.moonsighting.com/1433shw.html 18082012