การนิกาหฺ (แต่งงาน) - นิกาหฺในรูปแบบที่ไม่มีในอิสลาม เช่น ไม่มีวะลี, แอบนิกาหฺ (สิฟาหฺ), การผิดประเวณี, ซินา
อัฏฏ่อล้าก (การหย่า) - ฏอลากซุนนี (หย่าตามหลักการศาสนา) และ ฏอลากบิดอี (ไม่มีแบบฉบับ ไม่ถูกต้องตามหลักการศาสนา)
จากมารดาแห่งศรัทธาชน อุมมุอับดุลลอฮฺ (ท่านหญิงอาอิชะฮฺ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการ (ศาสนา) ของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม ในบันทึกของมุสลิม มีสำนวนดังนี้ “ผู้ใดกระทำกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่งไม่มีระบุในคำสั่งของเรา ดังนั้นกิจการนั้นถูกผลัก”
الأحوال الشخصية
กิจกรรม(สถานภาพ) ส่วนตัว (ไม่ใช่ส่วนรวมหรือสังคม หมายถึงครอบครัว) เช่น การนิกาหฺ, การหย่า, มรดก
กฎหมายครอบครัว
• การนิกาหฺ (แต่งงาน) - นิกาหฺในรูปแบบที่ไม่มีในอิสลาม เช่น ไม่มีวะลี, แอบนิกาหฺ (สิฟาหฺ), การผิดประเวณี, ซินา
• การหย่า
- สามีมีสิทธิหย่า ภรรยาไม่มีสิทธิ (ยกเว้นสามีเตากีล มอบอำนาจให้)
- การหย่าตามหลักศาสนา (ฏอล้ากซุนนี) คือ หย่าช่วงที่ภรรยาไม่มีประจำเดือน ไม่ได้ร่วมหลับนอน,
การหย่าขณะมีประจำเดือน - หะรอม ท่านนบีห้าม
หย่าขณะภรรยาสะอาด แต่ได้ร่วมหลับนอนมาแล้ว - หะรอมเช่นเดียวกัน ท่านนบีห้าม
มีเงื่อนไขมาก เพื่อให้เป็นเรื่องยาก ไม่ใช่เรื่องที่ทำกันเล่นๆ
- การหย่าที่ไม่เป็นไปตามหลักการข้างต้น (ฏอล้ากบิดอี) ถือว่าโมฆะไหม ? การหย่านั้นใช้ได้ไหม ?
ومنها الطلاقُ المنهي عنه ، كالطلاق في زمن الحيض ، فإنَّه قد قِيل : إنَّه قد نُهِيَ عنه لحقِّ الزوج ، حيث كانَ يخشى عليهِ أن يَعْقُبه فيهِ النَّدمُ ، ومن نُهِيَ عن شيء رفقاً به ، فلم ينته عنه ، بل فعله وتجشَّم مشقَّته ، فإنَّه لا يحكم ببطلان ما أتى به ، كمن صام في المرض أو السفر ، أو واصل في الصيام ، أو أخرج ماله كله وجلس يتكفَّفُ النَّاسَ ، أو صلَّى قائماً مع تضرُّره بالقيام للمرض ، أو اغتسل وهو يخشى على نفسه الضَّرر ، أو التَّلفَ ولم يتيمَّم ، أو صامَ الدَّهرَ ، ولم يفطر ، أو قام اللَّيل ولم ينم ، وكذلك إذا جمعَ الطَّلاق الثلاثَ على القول بتحريم.
- หย่าขณะภรรยามีประจำเดือน เทียบได้กับถือศีลอดขณะป่วยหรือเดินทาง ศาสนาไม่เห็นด้วย แต่การถือศีลอดนั้นเศาะหฺ (ใช้ได้)
- อิดดะฮฺของการหย่าคือ 3 เดือน
• وقيل : إنَّما نهي عن طلاق الحائض ، لحقِّ المرأة لما فيه من الإضرار بها بتطويل العدَّة ، ولو رضيت بذلك بأنْ سألته الطَّلاق بِعِوَضٍ في الحيض ، فهل يزولُ بذلك تحريمُهُ ؟ فيهِ قولان مشهوران للعلماء ، والمشهورُ من مذهبنا ومذهب الشَّافعيِّ أنَّه يزولُ التَّحريمُ بذلك ، فإنْ قيل : إنَّ التحريم فيهِ لحقِّ الزوج خاصة ، فإذا أقدم عليهِ ، فقد أسقط حقَّه فسقط ، وإنْ علل بأنَّه لحقِّ المرأة ، لم يمنع نفوذُه ووقوعُه أيضاً ، فإنَّ رضا المرأة بالطلاق غيرُ معتبر لوقوعه عندَ جميع المسلمين ، لم يُخالف فيهِ سوى شرذِمَةٍ يسيرةٍ من الروافض ونحوهم ، كما أنَّ رضا الرقيق بالعتق غير معتبرٍ ، ولو تضرَّر به ، ولكن إذا تضرَّرت المرأةُ بذلك ، وكان قد بقي شيءٌ من طلاقها ، أمر الزوج بارتجاعها ، كما أمر النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - ابنَ عمر بارتجاع زوجته تلافياً منه لضررها ، وتلافياً منه لما وقع منه من الطلاق المحرَّم حتَّى لا تصير بينونتها منه ناشئة عن طلاق محرَّمٍ ، وليتمكَّن من طلاقها على وجه مباح ، فتحصل إبانتُها على هذا الوجه .
وقد روي عن أبي الزبير ، عن ابن عمر : أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - ردَّها عليهِ ولم يرها شيئاً ، وهذا ممَّا تفرَّد به أبو الزبير عن أصحاب ابن عمر كلِّهم مثل : ابنه سالم ، ومولاه نافع ، وأنس ، وابن سيرين ، وطاووس ، ويونس بن جبير ، وعبد الله بن دينار ، وسعيد بن جبير ، وميمون بن مِهران وغيرهم .
- เหตุที่ไม่อนุญาตให้หย่า และที่หย่าได้
- ฮิกมะฮฺของการหย่า
- เลือกสามีให้ลูกสาว คัดเลือกให้ดี
- การหย่ามีผล แม้ภรรยาจะไม่ยินยอม
- การหย่าที่ทำให้ภรรยาเดือดร้อน มีสิทธิสั่งให้สามีคืนกลับ (ยกเลิกการหย่า)
- หย่าครั้งที่ 1, 2, 3 แล้ว มีสิทธิอะไรระหว่างกัน ?
- คนที่หย่าโดยไม่ตามหลักการ นบีให้รีบคืนดี ก่อนจะหมดอิดดะฮฺของการหย่า ตย อับดุลลอฮฺ อิบนุอุมัร หย่าภรรยาขณะมีประจำเดือน นบีให้คืนดี
1.20 - ความละเอียดของอุละมาอฺในการรายงานหะดีษ เรื่องราวของนักรายงานหะดีษ
การศึกษาหาความรู้ของอิมามดาเราะกุฏนียฺ ปากกาหักขณะกำลังศึกษา จึงประกาศซื้อปากกาพันบาท...
- ยะหฺยา อิบนุมะอีน นักตรวจสอบหะดีษ ใช้มรดกล้านดิรฮัม ในการศึกษาหะดีษตลอดชีวิต ปกป้องหะดีษนบีไม่ให้มีหะดีษปลอม
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 21 views