หะดีษที่ 5 ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก (7)
- เครื่องชั่ง(ตรวจสอบ)การกระทำ(อะมั้ล)ภายใน
- หุกุ่มต่างๆ ของชะรีอะฮฺ(บทบัญญัติ) ย่อมเป็นตัวกำหนดกิจการต่างๆของเรา
- จำต้องอยู่ในกรอบของชะรีอะฮฺในกิจกรรมศาสนาที่แสวงบุญ
عَنْ أُمِّ الْمُؤْمِنِيْنَ أُمِّ عَبْدِاللهِ عَائِشَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهَا قَالَتْ : قَالَ رَسُوْلُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : مَنْ أَحْدَثَ فِي أَمْرِنَا هَذَا مَا لَيْسَ مِنْهُ فَهُوَ رَدٌّ .
رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ , وَفِي رِوَايَةٍ لِمُسْلِمٍ : مَنْ عَمِلَ عَمَلاً لَيْسَ عَلَيْهِ أَمْرُنَا فَهُوَ رَدٌّ .
จากมารดาแห่งศรัทธาชน อุมมุอับดุลลอฮฺ (ท่านหญิงอาอิชะฮฺ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการ (ศาสนา) ของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม
ในบันทึกของมุสลิม มีสำนวนดังนี้ “ผู้ใดกระทำกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่งไม่มีระบุในคำสั่งของเรา ดังนั้นกิจการนั้นถูกผลัก”
อะหฺดะษะ أحدث - ประดิษฐ์ขึ้นมา
อัมริ أمر - กิจการ, คำสั่ง
ميزان الأعمال في الباطن
เครื่องชั่ง(ตรวจสอบ)การกระทำ(อะมั้ล)ภายใน
• وهذا الحديث أصلٌ عظيم من أُصول الإسلام ، وهو كالميزان للأعمال في ظاهرها كما أنّ حديث : (( الأعمال بالنيَّات )) ميزان للأعمال في باطِنها ، فكما أنَّ كل عمل لا يُراد به وجه الله تعالى ، فليس لعامله فيه ثواب ، فكذلك كلُّ عمل لا يكون عليه أمر الله ورسوله ، فهو مردودٌ على عامله، وكلُّ مَنْ أحدثَ في الدِّين ما لم يأذن به الله ورسوله ، فليس مِنَ الدين في شيء .
นี่เป็นหะดีษหลักในบรรดากิจการต่างๆในอิสลาม หะดีษนี้เปรียบประหนึ่งเครื่องชั่งของการปฏิบัติอะมั้ลต่างๆภายนอก ดังเช่นหะดีษ "กิจการงานทั้งหลาย (ขึ้นอยู่) กับการเจตนา...(หะดีษที่ 1)" เป็นเครื่องชั่งอะมั้ลภายใน
การงานที่ไม่อิคลาศ ย่อมไม่มีผลบุญ เช่นเดียวกัน ทุกอะมั้ลที่ไม่มีคำสั่งจากอัลลอฮฺและร่อซูล ย่อมถูกปฏิเสธ ผู้ใดประดิษฐ์เรื่องใดในศาสนาที่อัลลอฮฺและร่อซูลไม่อนุมัต ที่เขาประดิษฐ์นั้่นก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องศาสนาแต่อย่างใด
• وسيأتي حديثُ العِرباض بن ساريةَ ، عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه قال : (( مَنْ يعش منكم بعدي ، فسيرى اختلافاً كثيراً ، فعليكم بسُنَّتِي وسنَّةِ الخُلفاءِ الرَّاشدين المهديِّين من بعدي ، عَضُّوا عليها بالنواجِذ ، وإيَّاكُم ومُحدثاتِ الأمورِ، فإنَّ كُلَّ محدثةٍ بدعةٌ ، وكلَّ بدعةٍ ضلالةٌ )) .
28.00 ท่านนบีกล่าวว่า "ใครที่จะมีอายุยืนนานหลังจากฉันเสียชีวิต จะพบเห็นการเปลี่ยนแปลง จงยึมั่นในซุนนะฮฺของฉัน และซุนนะฮฺของบรรดาคุละฟาอฺรอชิดีน จงกัดด้วยฟันกราม และจงระมัดระวังให้ห่างไกลจากกิจการที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมา ทุกสิ่งประดิษฐ์นั้นเป็นบิดอะฮฺ และทุกบิดอะฮฺเป็นการหลงผิด..." (หะดีษที่ 28)
• وكان - صلى الله عليه وسلم - يقول في خطبته : (( أصدقُ الحديثِ كتابُ اللهِ ، وخيرُ الهدي هدي محمد ، وشرّ الأمور محدثاتها )) وسنؤخر الكلام على المحدثات إلى ذكر حديث العرباض المشار إليه، ونتكلم هاهنا على الأعمال التي ليس عليها أمر الشارع وردها.
أحكام الشريعة حاكمة على أعمال المكلفين
หุกุ่มต่างๆ ของชะรีอะฮฺ(บทบัญญัติ) ย่อมเป็นตัวกำหนดกิจการต่างๆของเรา
• فهذا الحديث يدلُّ بمنطوقه على أنَّ كلَّ عملٍ ليس عليه أمر الشارع ، فهو مردود ، ويدلُّ بمفهومه على أنَّ كلَّ عمل عليه أمره ، فهو غير مردود ، والمراد بأمره هاهنا : دينُه وشرعُه ، كالمراد بقوله في الرواية الأخرى : (( مَن أحدث في أمرنا هذا ما ليس منه فهو ردٌّ)).
หะดีษนี้โดยสำนวนที่ตรงไปตรงมาคือ ใครทำอะไรที่ไม่มีคำสั่งจากอัลลอฮฺและร่อซูลนั้นถูกปฏิเสธ จากเนื้อหาที่สามารถเข้าใจได้คือ เรื่องที่มีการใช้ในศาสนาก็จะไม่ถูกปฏิเสธ
หะดีษนี้ให้ความหมาย 2 อย่าง ทำสิ่งที่ไม่มีมีคำสั่งถูกปฏิเสธ และทำสิ่งที่มีคำสั่งไม่ถูกปฏิเสธ... สำนวนของอิมามมุสลิม "กิจการของเราคือศาสนาของเรา บัญญัติของเรา"
- หนังสืออิอานะฮฺฯ
• وقوله : (( ليس عليه أمرنا )) إشارةٌ إلى أنَّ أعمال العاملين كلهم ينبغي أنْ تكون تحتَ أحكام الشريعة، وتكون أحكام الشريعة حاكمةً عليها بأمرها ونهيها ، فمن كان عملُه جارياً تحت أحكام الشرع ، موافقاً لها ، فهو مقبولٌ ، ومن كان خارجاً عن ذلك ، فهو مردودٌ .
ทุกกิจการนั้นต้องอยู่ภายใต้ชะรีอะฮฺ (บทบัญญัติ)
• والأعمال قسمان : عبادات ، ومعاملات .
يجب التقيد بالشرع في القربات
จำต้องอยู่ในกรอบของชะรีอะฮฺในกิจกรรมศาสนาที่แสวงบุญ (กุรบะฮฺ - สิ่งที่ทำเพื่อให้ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ)
ส่วนที่เกี่ยวกับอิบาดะฮฺ
• فأما العبادات ، فما كان منها خارجاً عن حكم الله ورسوله بالكلية ، فهو مردود على عامله ، وعامله يدخل تحت قوله : { أَمْ لَهُمْ شُرَكَاءُ شَرَعُوا لَهُمْ مِنَ الدِّينِ مَا لَمْ يَأْذَنْ بِهِ الله } ، فمن تقرَّب إلى الله بعمل ، لم يجعله الله ورسولُه قربة إلى الله ، فعمله باطلٌ مردودٌ عليه ، وهو شبيهٌ بحالِ الذين كانت صلاتُهم عندَ البيت مُكاء وتصدية ، وهذا كمن تقرَّب إلى الله تعالى بسماع الملاهي ، أو بالرَّقص ، أو بكشف الرَّأس في غير الإحرام ، وما أشبه ذلك من المحدثات التي لم يشرع الله ورسولُه التقرُّب بها بالكلية .
• وليس ما كان قربة في عبادة يكونُ قربةً في غيرها مطلقاً ، فقد رأى النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - رجلاً قائماً في الشمس ، فسأل عنه ، فقيل : إنَّه نذر أنْ يقوم ولا يقعدَ ولا يستظلَّ وأنْ يصومَ ، فأمره النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - أنْ يَقعُدَ ويستظلَّ ، وأنْ يُتمَّ صومه فلم يجعل قيامه وبروزه للشمس قربةً يُوفى بنذرهما . وقد روي أنَّ ذلك كان في يوم جمعة عندَ سماع خطبة النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - وهو على المنبر، فنذر أنْ يقومَ ولا يقعدَ ولا يستظلَّ ما دامَ النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - يخطُبُ ، إعظاماً لسماع خطبة النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، ولم يجعل النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - ذلك قربةً تُوفى بنذره ، مع أنَّ القيام عبادةٌ في مواضعَ أُخَر ، كالصلاةِ والأذان والدعاء بعرفة ، والبروز للشمس قربةٌ للمحرِم ، فدلَّ على أنَّه ليس كلُّ ما كان قربة في موطنٍ يكون قربةً في كُلِّ المواطن ، وإنَّما يتبع في ذلك ما وردت به الشريعةُ في مواضعها
• وكذلك من تقرَّب بعبادة نُهِيَ عنها بخصوصها ، كمن صامَ يومَ العيد ، أو صلَّى في وقت النهي .
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 291 views