อธิบายโดย เชคริฎอ อะหมัด สมะดี
หะดีษที่ 4 ภาค 2 ลักษณะตัวอ่อนในครรภ์, การเป่าวิญญาณ
متى يكون التصوير ؟ - เมื่อไหร่จะเริ่มเป็นรูปร่างมนุษย์
العلقة تتخلق ! - ก้อนเนื้อเริ่มเป็นรูปเป็นร่าง
موافقة الطب للحديث - ทัศนะของแพทย์ที่สอดคล้องกับหะดีษ
كتابه المقادير أيضا بعد الأربعين - การกำหนดสภาวะ (เกาะฎออฺเกาะดัร) ภายหลัง 40 วัน
จากอบูอับดุรเราะหฺมาน (อับดุลลอฮฺ บินมัสอู๊ด) กล่าวว่า : ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ซึ่งท่านพูดความจริงเสมอและได้รับการยอมรับเสมอ กล่าวว่า
"แท้จริง ทุกๆ คนในหมู่พวกท่านได้ถูกรวบรวมในการสร้างเขาในมดลูกของแม่เป็นเวลา 40 วัน ในรูปของนุฏฟะฮฺ (น้ำข้น ๆ) หลังจากนั้นกลายเป็นเลือดก้อนหนึ่งในช่วงเวลาเดียวกัน หลังจากนั้นกลายเป็นเนื้อก้อนหนึ่งในช่วงเวลานั้นเช่นกัน แล้วมะลาอิกะฮฺก็ถูกส่งมายังเขา ดังนั้นมะลาอิกะฮฺก็ได้เป่าวิญญาณ (รูหฺ) และได้ถูกส่ง (ถูกกำหนด) 4 คำด้วยกันคือ กำหนดปัจจัยยังชีพของเขา อายุของเขา กิจการงานของเขา สุขทุกข์ของเขา
ดังนั้น วัลลอฮิ พระผู้ซึ่งไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ แท้จริง คนหนึ่งคนใดในพวกท่านกระทำกิจการงานของชาวสวรรค์ จนถึงไม่มีอะไรอยู่ระหว่างเขากับสวรรค์นอกจากห่างกันแค่หนึ่งศอกเท่านั้น แต่แล้วได้ถูกกำหนดแก่เขา ดังนั้น เขาก็กระทำกิจการงานของชาวนรก ในที่สุดเขาก็เข้านรก และแท้จริง คนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านกระทำกิจการงานของชาวนรกจนถึงไม่มีอะไรระหว่างเขากับนรกนอกจากห่างแค่หนึ่งศอกเท่านั้น แต่ได้ถูกกำหนดแก่เขาเป็นชาวสวรรค์ ดังนั้น (ก่อนตาย) เขาได้กระทำกิจการงานของชาวสวรรค์ ในที่สุดก็เข้าสวรรค์”
(หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม)
- พัฒนาการในครรภ์มารดา (จากตัวอ่อนสู่ทารก)
- ประวัติศาสตร์การศึกษาเกี่ยวกับการสร้างในครรภ์, การศึกษาทางวิทยาศาสตร์
- ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการสร้างในครรภ์ เช่น ชีวิตอยู่ในอสุจิ, เด็กมาจากประจำเดือนของสตรี, เด็กอยู่ในไข่ของสตรี,
- ความมืด 3 ชั้นในครรภ์
- ปี1984 มนุษย์พิสูจน์ได้ว่าการสร้างในครรภ์เป็นอย่างไรด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งตรงกับที่ระบุในอัลกุรอาน
- เชคอับดุลมะญีด อัซซินดานียฺ
- ชาวยิวได้พบท่านนบีที่มักกะฮฺ และถามว่า "มนุษย์เกิดจากอะไร"
ท่านนบี "ชาวยิว มนุษย์ถูกสร้างจากทั้งสองส่วน คือส่วนหนึ่งของชายและส่วนหนึ่งของหญิง (อสุจิและไข่)"
ثم قال: يا محمد مم يخلق الإنسان؟ فقال رسول الله :يا يهودى من كل يخلق من نطفة الرجل ونطفة المرأة“
23:12 และขอสาบานว่า แน่นอนเราได้สร้างมนุษย์มาจากธาตุแท้ของดิน (12) แล้วเราทำให้เขาเป็นเชื้ออสุจิ อยู่ในที่พักอันมั่นคง (คือมดลูก) (13) แล้วเราได้ทำให้เชื้ออสุจิกลายเป็นก้อนเลือดแล้วเราได้ทำให้ก้อนเลือดกลายเป็นก้อนเนื้อแล้วเราได้ทำให้ก้อนเนื้อกลายเป็นกระดูก แล้วเราหุ้มกระดูกนั้นด้วยเนื้อ แล้วเราได้เป่าวิญญาณให้เขากลายเป็นอีกรูปร่างหนึ่ง ดังนั้นอัลลอฮ์ทรงจำเริญยิ่ง ผู้ทรงเลิศแห่งปวงผู้สร้าง (อัลมุอฺมินูน)
(( إِنَّ أَحَدَكُمْ يُجْمَعُ خَلْقُهُ فِي بَطْنِ أُمِّهِ أَرْبَعِيْنَ يَوْمًا نُطْفَةً ، ثُمَّ يَكُونُ عَلَقَةً مِثْلَ ذَلِكَ ، ثُمَّ يَكُونُ مُضْغَةً مِثْلَ ذَلِكَ ،
หะดีษตามสำนวนของอิมามบุคอรีและมุสลิม สำนวนต่างกัน
"มิสละซาลิก" อุละมาอฺอธิบาย 2 ทัศนะ
1- ในเวลาเช่นกัน
2- ในเวลาเดียวกัน
อิบนุเราะจับนำมาอธิบายเปรียบเทียบกัน
متى يكون التصوير ؟ - 19 เมื่อไหร่จะเริ่มเป็นรูปร่างมนุษย์
ทัศนะ 1 ทัศนะอับดุลลอฮฺ อิบนุมัสอู๊ด 40 วัน
وقد روي عن ابن مسعود نفسِه ما يدلُّ على أنَّ تصويره قد يقعُ قبل الأربعين الثالثة أيضاً ، فروى الشَّعبيُّ ، عن علقمة ، عن ابن مسعود قال : النُّطفة إذا استقرَّتْ في الرَّحم جاءها مَلَكٌ فأخذها بكفه ، فقال : أي ربِّ ، مخلَّقة أم غير مخلَّقة ؟ فإن قيل : غير مخلَّقة ، لم تكن نسمة ، وقذفتها الأرحام ،
وإنْ قيل : مخلَّقة ، قالَ : أي ربِّ ، أذكرٌ أم أنثى ؟ شقيٌّ أم سعيد ؟ ما الأجل ؟ وما الأثرُ ؟ وبأيِّ أرضٍ تموتُ ؟ قال : فيُقال للنطفة : من ربك ؟ فتقول : الله ، فيقال : من رازقك ؟ فتقول : الله ، فيقال : اذهب إلى الكتاب ، فإنك تجد فيه قصة هذه النطفة ، قال : فتُخْلَق ، فتعيش في أجلها وتأكل رزقها ، وتطأ في أثرها ، حتَّى إذا جاء أجلُها ، ماتت ، فدفنت في ذلك ،
25 เมื่ออัลลอฮฺอนุมัติให้สร้างเป็นรูปร่าง มะละอิกะฮฺก็จะถาม โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน จะเป็นชายหรือหญิง ชาวสวรรค์หรือชาวนรก อายุเท่าไหร่ ผลงานอย่างไร ตายที่ไหน ?
มะลาอิกะฮฺจะถามนุฏฟะฮฺว่า พระจ้าของเจ้าคือใคร ? นุฏฟะฮฺจะตอบว่า อัลลอฮฺ
"ใครเป็นผู้ให้ริสกีแก่ทาน?" ตอบว่า อัลลอฮฺ
อัลลอฮฺจะบอกกับมะลาอิกะฮฺให้ดูสมุดบันทึกของนุฏฟะฮฺนี้ ท่านจะพบรายละเอียดทุกอย่างของเขา
หลังจากนั้นนุฏฟะฮฺก็จะดำเนินไปตามการกำหนดของอัลลอฮฺจนกระทั่งเสียชีวิตและถูกฝัง
ثم تلا الشَّعبي هذه الآية : { يَا أَيُّهَا النَّاسُ إِنْ كُنْتُمْ فِي رَيْبٍ مِنَ الْبَعْثِ فَإِنَّا خَلَقْنَاكُمْ مِنْ تُرَابٍ ثُمَّ مِنْ نُطْفَةٍ ثُمَّ مِنْ عَلَقَةٍ ثُمَّ مِنْ مُضْغَةٍ مُخَلَّقَةٍ وَغَيْرِ مُخَلَّقَةٍ } .
ท่านอัชชะอฺบีได้อ่านอายะฮฺ - 22:5 โอ้มนุษย์เอ๋ย ! หากพวกเจ้ายังอยู่ในการสงสัยแคลงใจ เกี่ยวกับการฟื้นคืนชีพแล้วไซร้ แท้จริงเราได้บังเกิดพวกเจ้าจากดิน แล้วจากเชื้ออสุจิ แล้วจากก้อนเนื้อ ทั้งที่เป็นรูปร่างที่สมบูรณ์ และไม่เป็นรูปร่างที่สมบูรณ์
فإذا بلغت مضغة ، نكست في الخلق الرابع فكانت نسمة ، فإن كانت غير مخلقة ، قذفتها الأرحام دماً ، وإنْ كانت مخلقة نكست نسمة . خرَّجه ابن أبي حاتم وغيره.
เมื่อเป็นมุฎเฆาะฮฺแล้ว ก็จะเป็นสิ่งที่มีวิญญาณ(มีชีวิต)คือ "นะสะมะฮฺ" -- คือตั้งแต่ครบ 40 วันแรก (เป็นทัศนะอุละมาอฺส่วนมาก)-- ถ้าอัลลอฮฺไม่กำหนดให้มีชีวิต ก็จะถูกขับออก (แท้ง)
ทัศนะ 2- ทัศนะส่วนน้อย มีชีวิตเมื่อครบ 120 วันแล้ว
وروي تفسير الجمع مرفوعاً بمعنى آخر ، فخرَّج الطبراني وابنُ منده في كتاب " التوحيد " من حديث مالك بن الحويرث : أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قال : (( إنَّ الله تعالى إذا أرادَ خلقَ عبدٍ ، فجامعَ الرَّجُلُ المرأةَ ، طار ماؤهُ في كلِّ عرقٍ وعضوٍ منها ، فإذا كانَ يومُ السابع جمعه الله ، ثم أحضره كلّ عرق له دونَ آدم : { فِي أَيِّ صُورَةٍ مَا شَاءَ رَكَّبَكَ } ، وقال ابن منده : إسناده متصل مشهور على رسم أبي عيسى والنَّسائي وغيرهما.
وحديث مالكِ بنِ الحويرث المتقدِّم يدلُّ على أنَّ التصويرَ يكونُ للنُّطفة أيضاً في اليوم السابع .
ท่านนบีกล่าวว่า "แท้จริงถ้าอัลลอฮฺประสงค์สร้างบ่าวคนหนึ่ง เมื่อชายคนหนึ่งและหญิงคนหนึ่งได้ร่วมหลับนอน อสุจิของชายจะเข้าไปอยู่ในทุกส่วนของหญิง เมื่อถึงวันที่ 7 อัลลอฮฺจะรวบรวมส่วนหนึ่งจากลูกหลานอาดัม(ปู่ย่าตายาย)มาอยู่ในมนุษย์คนนี้ (กรรมพันธุ์,ยีน)
อิบนุรอจับ - หะดีษบทนี้แสดงว่าการร่างมนุษย์ เริ่มพัฒนาตั้งแต่วันที่ 7
العلقة تتخلق ! - อะละเกาะฮฺ(ก้อนเนื้อ) เริ่มเป็นรูปเป็นร่าง
- การสร้างกระดูกและเนื้อหุ้มกระดูก เริ่มเมื่อ 40 วันที่สอง
وقد ورد في حديث حذيفة بن أسيدٍ ما يدلُّ على خلقِ اللَّحمِ والعِظام في أوَّلِ الأربعين الثانية ، ففي "صحيح مسلم" عن حُذيفة بن أسيدٍ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - قال : ((إذا مرّ بالنُّطفة ثنتان وأربعونَ ليلةً ، بعثَ الله إليها مَلَكاً ، فصوَّرها وخلق سمعها وبصرَها وجِلدَها ولحمَها وعِظامَها، ثُمَّ قال : يا ربِّ أذكرٌ أم أُنثى ؟ فيَقضي ربُّك ما شاءَ ، ويكتبُ الملَكُ، ثُمَّ يقولُ: يا ربِّ ، أجله ؟ فيقول : ربك ما شاء، ويكتب الملك ، ثُمَّ يقول : يا ربِّ ، رزقُه ؟ فيقضي ربُّك ما شاء ، ويكتُبُ الملَكُ ، ثم يخرُجُ الملكُ بالصَّحيفة في يده فلا يزيد على ما أُمِرَ ولا ينقُصُ )) .
หะดีษบันทึกโดยอิมามมุสลิม ท่านนบีกล่าวว่า "เมื่อนุฏฟะฮฺอายุ 42 วัน อัลลอฮฺจะส่งมะลาอิกะฮฺท่านหนึ่ง มาสร้างหน้าตา หู ตา ผิว เนื้อ กระดูก
มะลาอิกะฮฺจะถามอัลลอฮฺว่า ชายหรือหญิง ? อัลลอฮฺจะกำหนดตามที่พระองค์ประสงค์ ให้มะลาอิกะฮฺบันทึก มะลาอิกะฮฺจะถามอัลลอฮฺถึงริสกีของเขา
وظاهر هذا الحديث يدلُّ على أنَّ تصويرَ الجنين وخلقَ سمعه وبصره وجلده ولحمه وعظامه يكون في أوَّل الأربعين الثانية ، فيلزمُ من ذلك أنَّ يكون في الأربعين الثانية لحماً وعظاماً .
หะดีษนี้หมายรวมว่า การสร้างมนุษย์ (หู ตา ผิว เนื้อ กระดูก) อยู่ในขั้นแรกของ 40 วันที่สอง (มุฎเฆาะฮฺ)
وقد تأوَّل بعضهم ذلك على أنَّ المَلَك يقسِمُ النُّطفةَ إذا صارت علقةً إلى أجزاء ، فيجعلُ بعضَها للجلد ، وبعضها للحم ، وبعضها للعظام ، فيقدِّر ذلك كلَّه قبل وجوده . وهذا خلافُ ظاهر الحديث ، بل ظاهرُه أنَّه يصوِّرها ويخلُق هذه الأجزاء كلها ،
وقد يكونُ خلقُ ذلك بتصويره وتقسيمه قبل وُجودِ اللحم والعظام ، وقد يكون هذا في بعض الأجِنَّةِ دُونَ بعض .
وهذا كلُّه مبنيٌّ على أنَّه يمكن التَّخليق في العلقة كما قد يستدلُّ على ذلك بحديث حذيفة بن أسيد المتقدِّم إلاَّ أنْ يقال : حديث حذيفة إنَّما يدلُّ على أنَّه يتخلَّق إذا صار لحماً وعظماً ، وإنَّ ذلك قد يقع في الأربعين الثانية ، لا في حالِ كونِهِ علقةً ، وفي ذلك نظر ، والله أعلم .
وما ذكره الأطباء يدلُّ على أنَّ العلقة تتخلق وتتخطَّط ، وكذلك القوابِل مِنَ النِّسوة يشهدن بذلك ، وحديث مالك بن الحويرث يشهد بالتصوير في حال كون الجنين نطفة أيضاً ، والله تعالى أعلم .
แพทย์บางท่านระบุว่า อะละเกาะฮฺ อาจจะมีรูปร่าง มีรายละเอียดก็ได้
---------------
หะดีษ 04-3 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน, การกำหนดสภาวะ (เกาะฎออฺเกาะดัร)
موافقة الطب للحديث - ทัศนะของแพทย์ที่สอดคล้องกับหะดีษ
وقد ذكر علماء أهل الطبِّ ما يُوافق ذلك ، وقالوا : إنَّ المنيَّ إذا وقعَ في الرحم ، حصل له زَبَديَّةٌ ورغوةٌ ستَّةَ أيَّامٍ أو سبعة ، وفي هذه الأيام تصوَّرُ النطفةُ مِنْ غير استمداد من الرحم ، ثم بعدَ ذلك تستمد منه ، وابتداء الخطوط والنقط بعد هذا بثلاثة أيام ، وقد يتقدَّم يوماً ويتأخَّر يوماً ، ثم بعدَ ستة أيام - وهو الخامس عشر من وقت العلوق - ينفُذُ الدم إلى الجميع فيصير علقة، ثم تتميَّز الأعضاءُ تميزاً ظاهراً ، ويتنحَّى بعضُها عن مُماسَّةِ بعضٍ ، وتمتدُّ رطوبةُ النُّخاع ، ثم بعد تسعةِ أيام ينفصلُ الرأسُ عن المنكبين ، والأطراف عن الأصابع تميزاً يتبين في بعضٍ ، ويخفى في بعضٍ . قالوا : وأقلّ مدَّة يتصوَّر الذكر فيها ثلاثون يوماً ، والزمان المعتدل في تصوُّرِ الجنين خمسة وثلاثون يوماً ، وقد يتصوَّر في خمسة وأربعين يوماً . قالوا : ولم يوجد في الأسقاط ذَكَرٌ تَمَّ قبل ثلاثين يوماً ، ولا أنثى قبل أربعين يوماً فهذا يوافق ما دلَّ عليه حديثُ حذيفةَ بن أسيدٍ في التخليق في الأربعين الثانية ، ومصيره لحماً فيها أيضاً .
قال الشيخ الزنداني : أثبت دراسات علم الأجنة الحديثة والمستيقنة أن تكون العظام يبدأ بعد الأسبوع السادس مباشرة ، وليس بعد الأسبوع السابع عشر مما يؤيد المعنى الواضح الظاهر لحديث حذيفة وعلى هذا يتضح أن معنى (مثل ذلك) في حديث عبد الله بن مسعود لا يمكن أن يكون مثلية في الأربعينات من الأيام .
كتابه المقادير أيضا بعد الأربعين
การกำหนดสภาวะ (เกาะฎออฺเกาะดัร) ภายหลัง 40 วัน
وقد رُوي عن جماعة من الصحابة أنَّ الكتابة تكون في الأربعين الثانية ، فخرج اللالكائي بإسناده عن عبد الله بن عمرو بن العاص ، قالَ : إذا مكثتِ النطفة في رحِم المرأة أربعين ليلةً ، جاءها مَلَكٌ ، فاختلَجَها ، ثُمَّ عرجَ بها إلى الرَّحمان - عز وجل - ، فيقول : اخلُق يا أحسنَ الخالقين ، فيقضي الله فيها ما يشاءُ مِنْ أمره ، ثُمَّ تدفع إلى الملك عندَ ذَلِكَ ، فيقول : يا ربّ أسَقْطٌ أم تام ؟ فيبين له ، ثم يقول : يا ربِّ أناقصُ الأجل أم تام الأجل ؟ فيبين له ، ويقول : يا ربِّ أواحد أم توأم ؟ فيبين له ، فيقول : يا ربّ أذكر أم أنثى؟ فيبين له ، ثم يقول : يا ربِّ ، أشقيٌّ أم سعيد ؟ فيبين له ، ثم يقول : يا ربِّ اقطع له رزقه ، فيقطع له رزقه مع أجله ، فيهبط بهما جميعاً . فوالذي نفسي بيده لا ينال من الدنيا إلا ما قسم له .
وخرَّج ابن أبي حاتم بإسناده عن أبي ذر ، قال : إنَّ المني يمكثُ في الرَّحم أربعينَ ليلةً ، فيأتيه مَلَكُ النُّفوس ، فيعرج به إلى الجبَّار - عز وجل - ، فيقول : يا ربّ أذكرٌ أم أنثى ؟ فيقضي الله - عز وجل - ما هو قاضٍ ، ثم يقول : يا ربّ ، أشقيٌّ أم سعيد ؟ فيكتب ما هو لاقٍ بين يديه ، ثم تلا أبو ذر من فاتحة سورة التغابن إلى قوله : { وَصَوَّرَكُمْ فَأَحْسَنَ صُوَرَكُمْ وَإِلَيْهِ الْمَصِيرُ } وهذا كله يوافق ما في حديث حذيفة بن أسيدٍ .
وقد تقدم عن ابن عباس أنَّ كتابة الملَكِ تكونُ بعدَ نفخِ الروح بأربعين ليلة وأنَّ إسناده فيه نظر .
وقد جمع بعضُهم بين هذه الأحاديث والآثار ، وبينَ حديث ابن مسعود ، فأثبت الكتابة مرَّتين ، وقد يقال مع ذلك : إنَّ إحداهما في السماء والأخرى في بطن الأم، والأظهر - والله أعلم - أنَّها مرَّة واحدة ، ولعلَّ ذلك يختلف باختلاف الأجنَّة، فبعضهم يُكتب له ذلك بعد الأربعين الأولى ، وبعضهم بعد الأربعين الثالثة. وقد يقال : إنَّ لفظة (( ثُمَّ )) في حديث ابن مسعود إنَّما أريد به ترتيب الإخبار ، لا ترتيب المخبر عنه في نفسه، والله أعلم .
51 ทัศนะอุละมาอฺ - การบันทึกของมะลาอิกะฮฺมีหลายครั้ง ตอน 40/80 วัน -- หลักฐานไม่ชัดเจน แต่ที่ชัดเจนคือครั้งเดียวที่บันทึก
ومن المتأخرين من رجَّح أنَّ الكتابة تكونُ في أوَّل الأربعين الثانية ، كما دلَّ عليه حديث حذيفة بن أسيد ، وقال : إنَّما أخر ذكرها في حديث ابن مسعود إلى ما بعد ذكر المضغة ، وإنْ ذكرت بلفظ (( ثم )) لئلا ينقطع ذكرُ الأطوار الثلاثة التي يتقلب فيها الجنين وهي كونه : نطفة وعلقة ومضغة ، فإنَّ ذكر هذه الثلاثة على نسق واحد أعجبُ وأحسنُ ،
- สามีหย่าขณะตั้งครรภ์ อิดดะฮฺของภรรยาคือเมื่อคลอด
- หย่าขณะแท้ง ?
- เด็กที่แท้งกี่วัน จึงจะละหมาดจะนาซะฮฺ ?
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 178 views
