ระบอบชูรอในอิสลาม

Submitted by dp6admin on Mon, 26/12/2011 - 14:38
หัวข้อเรื่อง
ความหมาย, ความสำคัญ, ต่างจากประชาธิปไตยอย่างไร, ชูรอเป็นเอกลักษณ์ของ ญะมาอะฮฺและสังคมมุสลิม, คุณสมบัติผู้นำ, ความจำเป็นต้องใช้ระบบชูรอ,
คุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษา - มีอมานะฮฺ, ซื่อสัตย์, ยุติธรรม, มีความรู้ในเรื่องที่จะปรึกษา;
สถานที่
บ้านตอเล็บ คลองสวน ฉะเชิงเทรา
วันที่บรรยาย
30 มุฮัรรอม 1433
วันที่บรรยาย
ขนาดไฟล์
15.00 mb
ความยาว
132.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

وَالَّذِينَ اسْتَجَابُوا لِرَبِّهِمْ وَأَقَامُوا الصَّلَاةَ وَأَمْرُهُمْ شُورَىٰ بَيْنَهُمْ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنفِقُونَ ﴿٣٨﴾

และบรรดาผู้ตอบรับต่อพระเจ้าของพวกเขา และดำรงละหมาด และกิจการของพวกเขามีการปรึกษาหารือระหว่างพวกเขาและเขาบริจาคสิ่งที่เราได้ให้เครื่องปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา (ซูเราะตุชชูรอ 42:38)

فَبِمَا رَحْمَةٍ مِّنَ اللَّـهِ لِنتَ لَهُمْ ۖ وَلَوْ كُنتَ فَظًّا غَلِيظَ الْقَلْبِ لَانفَضُّوا مِنْ حَوْلِكَ ۖ فَاعْفُ عَنْهُمْ وَاسْتَغْفِرْ لَهُمْ وَشَاوِرْهُمْ فِي الْأَمْرِ ۖ فَإِذَا عَزَمْتَ فَتَوَكَّلْ عَلَى اللَّـهِ ۚ إِنَّ اللَّـهَ يُحِبُّ الْمُتَوَكِّلِينَ ﴿١٥٩﴾

เนื่องด้วยความเมตตาจากอัลลอฮ์นั่นเอง เจ้า(มุฮัมมัด) จึงได้สุภาพอ่อนโยนแก่พวกเขา และถ้าหากเจ้าเป็นผู้ประพฤติหยาบช้า และมีใจแข็งกระด้างแล้วไซร้ แน่นอนพวกเขาก็ย่อมแยกตัวออกไปจากรอบ ๆ เจ้ากันแล้ว ดังนั้นจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิด และจงขออภัยให้แก่พวกเขาด้วย และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทั้งหลาย ครั้นเมื่อเจ้าได้ตัดสินใจแล้ว ก็จงมอบหมายแด่อัลลอฮ์เถิด แท้จริงอัลลอฮ์ทรงรักใคร่ผู้มอบหมายทั้งหลาย (อาลิอิมรอน 3:159) -- ฟังตัฟซีร

ทำอย่างไรให้สังคมตระหนักในเรื่องชูรอ ? 1- ต้องศึกษา 2- ต้องคลุกคลีกับสังคม โดยเฉพาะคนที่มีคุณภาพในสังคม 3- ถ่อมตน (พยายามคิดว่าคนอื่นมีดีมากกว่าเรา)
คำถาม
1- เราจะวัดอีมานของเราว่าอยู่ในระดับไหนได้อย่างไร 1.26
2- มีข้อควรระวังหรือไม่หลังจากใช้ระบบชูรอในกลุ่มหรือองค์กร
3- "ชูรอ" ต้องมีที่ปรึกษาของชูรอหรือไม่
4- วิธีการรักษาญะมาอะฮฺ
5- เป็นผู้นำชุมชนที่มีทั้งมุสลิมและกาฟิร จะให้กาฟิรมาเป็นที่ปรึกษาด้วยได้หรือไม่
6- อำนาจของระบบชูรอ จะเลือกหรือให้น้ำหนักทัศนะต่างๆ ทางศาสนาได้หรือไม่
7- ถ้าผลของชูรออกมาในสิ่งผิดหลักการ ถ้าชูรอไม่เห็นด้วย แต่ต้องทำตามเพราะเห็นว่าเป็นมติของชูรอแล้ว ควรทำอย่างไร
8- ในกิจการที่มีทั้งมุสลิมีนและมุสลิม ชูรอจะเป็นมุสลิมะฮฺได้หรือไม่
9- จากเหตุการณ์สงครามอุฮุด ที่ท่านนบีต้องทำตามเสียงส่วนมาก 
10- เข้าไปใช้ประโยชน์ในที่ดินผู้อื่น ทำได้หรือไม่ เพราะเจ้าของที่ดินปล่อยทิ้งไว้ไม่ได้ใช้ประโยชน์
11- มีคำกล่าวว่ามุสลิมที่ไม่สวมหมวกจะมีชัยฏอนมาขี้ใส่หัว
12- ถือศีลอดแทนญาติที่ตายไปแล้วได้หรือไม่ เพื่อชดเชยการถือศีลอดที่เขาบกพร่องไปในอดีต
13- มุสลิมที่ละหมาดแต่ไม่สนใจศึกษาอัลกุรอาน จะมีความผิดอย่างไร
14- ละหมาดญะนาซะฮฺโดยหวังจะได้เงิน ได้ผลบุญหรือไม่
15- เลี้ยงปลากุ้งต้องออกซะกาตหรือไม่ จะออกอย่างไร
16- กรณีที่มีหลายทัศนะ และมีมติแล้ว สมาชิกคนอื่นที่เห็นด้วยกับทัศนะนั้น จะไม่ปฏิบัติตามได้หรือไม่
17- ทำฮัจญฺให้คนที่ตายไปแล้วได้หรือไม่
18- ชูรอมีวาระดำรงตำแหน่งแน่นอนหรือไม่ ชูรอจะถูกปลดได้หรือไม่ ใครจะเป็นคนปลด
19- อะมีรมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นก่อนหรือไม่ จะถือเป็นการชี้นำสมาชิกมั้ย
20- อะมีรต้องเป็นคนที่มีความรู้มากกว่าคนอื่นหรือไม่
21- กรณีที่มีมติของชูรอแล้ว แต่สมาชิกคนหนึ่งไม่ห็นด้วย ควรทำอย่างไร
22- ทำฮัจญฺแทนมากกว่าหนึ่งคนในรอบเดียว รวมทั้งทำฮัจญฺของตนเองด้วยได้หรือไม่
23- ละหมาดแทนคนที่เสียชีวิตไปแล้ว เพราะเขาไม่ได้ละหมาดแม้จะสามารถ ถ้าได้จะทำอย่างไร
24-