อิสติฆฟาร(การขออภัยโทษ)

สรรเสริญอัลลอฮฺ, สารภาพผิด และขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺ
#ซัยยิดุลอิสติฆฟาร (เจ้านายของสำนวนการขออภัยโทษ)
#อิสติฆฟาร - การขออภัยโทษ
สำนวนขออภัยโทษ (#อิสติฆฟาร)
- บาปของบ่าวใหญ่โตแค่ไหน อภัยโทษของอัลลอฮฺจะใหญ่กว่า บาปของมนุษย์ทั้งหมดย่อมเล็กกว่าอภัยโทษที่มี ณ อัลลอฮฺตะอาลา – มุมมองนี้ต้องจำไว้ให้ดี ถ้าเห็นคนทำชั่วเยอะแล้วสิ้นหวัง หะดีษนี้ให้กำลังใจ ให้เริ่มชีวิตใหม่ เหมือนเรื่องคนที่ฆ่า 99 คน แล้วเตาบัต
- หะดีษเศาะฮี้ฮฺ (รายงานเฎาะอีฟนิดนึง…
إِنِّي كُنتُ مِنَ الظَّالِمِينَ
"แท้จริงข้าพระองค์เป็นผู้หนึ่งในหมู่ผู้อธรรมทั้งหลาย”
- ความสำคัญของการ #สารภาพผิดและ #อิสติฆฟาร(ขออภัยโทษ) ต่ออัลลอฮฺ
#ดุอาอฺของนบียูนุส
لَّا إِلَـٰهَ إِلَّا أَنتَ سُبْحَانَكَ إِنِّي كُنتُ مِنَ الظَّالِمِينَ
21:87 “…

ตอนนี้เราจะเรียนรู้อีกหนึ่งสำนวนอิสติฆฟาร ที่อัลลอฮ สุบหานะฮุ วะตะอาลา ได้สอนแก่นบีท่านหนึ่ง

เราได้เรียนรู้สำนวนอิสติฆฟารของท่านนบีอาดัม ซึ่งเป็นนนบีท่านแรกแล้ว ท่านได้ฝ่าฝืนอัลลอฮ…

วันนี้ผมจะพูดถึงสำนวนอิสติฆฟารหรือดุอาอ์ขออภัยโทษต่ออัลลอฮ สุบหานะฮุ วะตะอาลา ซึ่งมีหลากหลายมาก มีหลายสำนวนที่น่าสนใจ เริ่มจากสำนวนแรกสุดที่มีขึ้นในโลกใบนี้ เกิดจากมนุษย์คนแรกที่ได้ทำความผิด…

 

ในบางศาสนา หากใครได้กระทำความผิดบาป เขาจะต้องไปสารภาพบาปกับนักบวช นักศาสนา หรือครูบาอาจารย์ของเขา และขออภัยโทษ บาทหลวงหรือนักบวชก็จะให้อภัยโทษแก่เขา นักปราชญ์มุสลิมจึงตั้งคำถามขึ้นว่า…

เขาเหล่านั้นจะยังไม่ศรัทธาจนกว่าพวกเขาจะให้เจ้าตัดสินในสิ่งที่ขัดแย้งกัน
เตาบัตไม่จริงใจ มีผลอย่างไร?
อัฎเฎาะฮาก "3 คนที่อัลลอฮฺไม่รับดุอาอฺ คือ คนที่ทำซินาซ้ำแล้วซ้ำอีก ไม่ยอมเลิก, ลักทรัพย์ชาวบ้าน ไม่ยอมคืน..."
--
قَالَ الضَّحَّاكُ: ثَلَاثَةٌ لَا يُسْتَجَابُ لَهُمْ، فَذَكَرَ مِنْهُمْ؛ رَجُلٌ مُقِيمٌ عَلَى امْرَأَةٍ زِنًا كلما قَضَى…