มารยาท

ไฟล์เสียงรายการสู่อีมานที่มั่นคง ทางคลื่นคุณธรรม ปี 2546-47 โดยเชคริฎอ อะหมัด สมะดี (มีทั้งหมด 150 ตอน)
- ความประเสริฐของการเดินทางเพื่อศึกษาหาความรู้
- ทบทวนเจตนาของเราในการศึกษาอัลกุรอานหะดีษอยู่เสมอ
- ดุอาอฺที่ท่านนบีขอให้ผู้ศึกษาหะดีษของท่านนบีแล้วนำไปรายงานต่อ (ขอให้ใบหน้าสดใส) ผู้ที่ฟังอาจได้ความรู้มากกว่าผู้ที่รายงานต่อก็ได้
- นิยามของ "ความละอาย"
ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
“สิ่งที่มนุษย์ทั้งหลายได้ทัน(จดจำไว้)คำพูดของบรรดานบีทั้งหลายที่มาในยุคก่อน(ซึ่งถ่ายทอดกันมาทุกยุคทุกสมัย)คือ
ถ้าท่านไม่ละอาย ท่าน(ประสงค์)จะทำอะไรก็ทำไป” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์
การอธิบายหะดีษนี้มี 2 ทัศนะ
ทัศนะ 1 -…
"..และจงตามหลังความชั่วด้วยการทำดี มันย่อมลบล้างได้ และจงคบเพื่อนมนุษย์ด้วยกริยามารยาทที่ดีงาม”
- ล้างบาปเล็ก ไม่ต้องเตาบัตตัว หรือเปล่า ทำความดีก็ลบล้างได้แล้ว ?
- คุณสมบัติของมุตตะกีน(ผู้ยำเกรง) และมุหฺสินีน(คนดี)
- ความสำคัญของ "มารยาท"
ประการที่ 3 ที่ท่านนบีสั่งใช้ให้ผู้ศรัทธาปฏิบัติคือ ให้เกียรติ(ดูแล)แขก หมายรวมถึงการดูแลอย่างดี
-- คือต้องดูแลแขกอย่างน้อย 1 วัน เพิ่มจากนั้นเป็นอาสา, แขกคือคนที่อยู่ถิ่นอื่น เดินทางไกลมาเมืองของเรามาเยี่ยมเรา โดยที่เรามีความสามารถรับรองแขกด้ ก็วาจิบต้องดูแลเมื่อเขามาขอร้อง
--…
- มารยาทต่อเพื่อนบ้าน
- ประการที่ 2 ที่ท่านนบีสั่งใช้ในหะดีษนี้คือ ให้เกียรติเพื่อนบ้าน (ให้ความเคารพ, ช่วยเหลือ) บางสำนวนของหะดีษนี้ ห้ามก่อความเดือดร้อนแก่เพื่อนบ้าน
"ผู้ใดศรัทธาต่ออัลลอฮฺและศรัทธาต่อวันสุดท้าย เขาจะต้องพูดจาที่ดี ๆ หรือไม่ก็เงียบ...",
มารยาทในการพูด
พูดหรือนิ่งเงียบดีกว่ากัน ?
- มนุษย์ไม่ได้ถูกสั่งให้พูดตลอด หรือนิ่งตลอด แต่ต้องพูดในสิ่งที่ดี และระงับในสิ่งที่ไม่ดี
- นะซีหัตก่อนร่อมะฎอน
- ลักษณะนิสัยของอาหรับชนบท
- ที่มาของกุนูตนะวาซิล มาจากพฤติกรรมของชาวชนบท
- อาหรับชนบท ไม่รู้กาลเทศ ไม่รู้แต่ชอบชี้ ไม่มีกรอบความรู้
- มีนิสัยเหมือนมุนาฟิกีน ที่ผู้ศรัทธาต้องระวัง
- เมื่อนบีเสียชีวิต อาหรับหลายคนออกจากศาสนา…