บนีอิสรออีล(ยิว)

"และชาวยิวนั้นได้กล่าวว่า พระหัตถ์ของอัลลอฮ์นั้นถูกล่ามตรวน มือของพวกเขาต่างหากที่ถูกล่ามตรวน และพวกเขาได้รับละอ์นัต เนื่องจากสิ่งที่พวกเขาพูด..."
"จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ว่าจะให้ฉันบอกแก่พวกท่านไหมถึงการตอบแทนที่เลวร้ายยิ่งกว่านั้น ณ ที่อัลลอฮ์ คือผู้ที่อัลลอฮ์ได้ทรงละอ์นัตเขาและกริ้วโกรธเขา และให้ส่วนหนึ่งในพวกเขาเป็นลิงและเป็นสุกร ..."
จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่าจะให้ฉันบอกแก่พวกท่านไหม ถึงการตอบแทนที่เลวร้ายยิ่งกว่านั้น ณ ที่อัลลอฮ์ คือผู้ที่อัลลอฮ์ได้ทรงละอ์นัตเขาและกริ้วโกรธเขา และให้ส่วนหนึ่งในพวกเขาเป็นลิงและเป็นสุกร และเป็นผู้สักการะชัยฎอน ชนเหล่านี้แหละคือผู้ที่มีตำแหน่งอันชั่วร้ายและเป็นผู้ที่หลงไปจากทางอันเที่ยงตรง
หัวใจตาย, หัวใจมีโรค, หุบ๊าบ อิบนุมุนซิร, กลุ่มไอซิส (ไอเอส,ดาอิช,...),ฏอลิบัน, ปัญหาซุนนี-ชีอะฮฺ ในอิรัก, เคาะลีฟะฮฺมัวะตะศิม, อัลฮัจญาจ อิบนุยูซุฟ อัซซะกอฟี (นาศิบะฮฺ,เกลียดอะหฺลุลบัยตฺ), มุฮัมมัด อิบนุลกอซิม อัซซะกอฟี, มุรตัด(ผู้ที่ออกจากศาสนา), สงครามมุรตัดดีน, เรารักอัลลอฮฺไหม?
"ผู้ศรัทธาทั้งหลาย ! จงอย่าได้ยึดเอาชาวยิวและชาวคริสต์เป็นมิตร...", อับดุลลอฮฺ อิบนุอุบัย อิบนุสะลูน, อุบาดะฮฺ อิบนุศศอมิต
อายะตุลฮุกมฺ, กฎหมายอิสลาม, มุสลิมกับอัลกุรอาน,
บทเรียนจากการทิ้งเตารอตของยิว, รู้จักยิว, ตระกูลนิยม,
มุสลิมต้องยึดศีลธรรมอิสลามเป็นมาตรฐานในชีวิต และเป็นหน้าที่ของมุสลิมที่ต้องให้มีการปกครองด้วยกฎหมายของอัลลอฮฺ
อายะตุลฮุกมฺ (44) ถูกหยิบยกมาใช้ในสถานการณ์ที่มุสลิมขัดแย้งกัน "ดังนั้นพวกเจ้าจงอย่ากลัวมนุษย์แต่จงกลัวข้าเถิด และจงอย่าแลกเปลี่ยนบรรดาโองการของข้ากับราคาอันเล็กน้อย และผู้ใดที่มิได้ตัดสินด้วยสิ่งที่อัลลอฮ์ได้ทรงประทานลงมาแล้ว ชนเหล่านี้แหละคือผู้ปฏิเสธการศรัทธา"
บนีอิสรออีล(ยิว), พวกเขาชอบฟังคำมุสา(ซัมมาอูน) ชอบกินสิ่งต้องห้าม(อักกาลูน), ถ้าหากพวกเขามาหาเจ้า ก็จงตัดสินระหว่างพวกเขา หรือไม่ก็หลีกเลี่ยงพวกเขาเสีย...
รอซูลเอ๋ย ! จงอย่าให้เป็นที่เสียใจแก่เจ้าซึ่งบรรดาผู้ที่รีบเร่งกันในการปฏิเสธศรัทธาจากหมู่ผู้ที่กล่าวด้วยปากของพวกเขาว่า พวกเราศรัทธาแล้วโดยที่หัวใจของพวกเขามิได้ศรัทธา และจากหมู่ผู้ที่เป็นยิวด้วย ...