ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 206 (หะดีษที่ 38/9)

Submitted by admin on Fri, 28/08/2015 - 21:32
หัวข้อเรื่อง
มุสลิม-มุอฺมิน-มุหฺซิน, "..และเมื่อฉัน(อัลลอฮฺ)รักเขาแล้ว, ฉันจะเป็นหูที่เขาใช้ได้ยิน(ฟัง), และฉันจะเป็นดวงตาที่เขาใช้มอง, และฉันจะเป็นมือของเขาที่ใช้สัมผัส, และฉันจะเป็นเท้าของเขาที่ใช้เดิน.."
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
13 ซุลเก๊าะดะฮฺ 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
18.90 mb
ความยาว
81.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

วีดีโอ

الحديث الثامن والثلاثون  หะดีษที่ 38
عَنْ أَبِي هُريرة  قالَ : قَالَ رَسولُ اللهِ صلى الله عليه وسلم : (( إنَّ الله تَعالَى قَالَ : مَنْ عَادَى لِي وَلِيّاً ، فَقَدْ آذنتُهُ بالحربِ ، وما تَقَرَّب إليَّ عَبْدِي بشيءٍ أحَبَّ إليَّ مِمَّا افترضتُ عَليهِ ، ولا يَزالُ عَبْدِي يَتَقرَّبُ إليَّ بالنَّوافِلِ حتَّى أُحِبَّهُ ، فإذا أَحْبَبْتُهُ ، كُنتُ سَمعَهُ الّذي يَسمَعُ بهِ ، وبَصَرَهُ الّذي يُبْصِرُ بهِ ، ويَدَهُ الَّتي يَبطُشُ بها ، ورِجْلَهُ الّتي يَمشي بِها ، ولَئِنْ سأَلنِي لأُعطِيَنَّهُ ، ولَئِنْ استَعاذَنِي لأُعِيذَنَّهُ )) . رواهُ البخاريُّ( ) .
 
จากอบีฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
    “แท้จริง อัลลอฮฺตะอาลาตรัสว่า (หะดีษกุดซียฺ)
ผู้ใดเป็นศัตรูกับผู้เป็นที่รักของฉัน (วลี) แท้จริงฉันได้ประกาศสงครามกับเขา และบ่าวของฉันจะไม่กระทำอะไรที่ทำให้เขาใกล้ชิดกับฉัน ที่ฉันจะรักยิ่งกว่าการทำฟัรฎู และบ่าวของฉันจะขยันทำอิบาดะฮฺอาสา (นะวาซิล) จนกระทั่งฉันจะรักเขา และเมื่อฉัน(อัลลอฮฺ)รักเขาแล้ว, ฉันจะเป็นหูที่เขาใช้ได้ยิน(ฟัง), และฉันจะเป็นดวงตาที่เขาใช้มอง, และฉันจะเป็นมือของเขาที่ใช้สัมผัส, และฉันจะเป็นเท้าของเขาที่ใช้เดิน และหากเขาได้ขอฉันแล้ว จะให้เขาอย่างแน่นอน, และถ้าหากเขาขอความคุ้มครองต่อฉัน ฉันก็จะให้ความคุ้มครองเขา(อย่างแน่นอน)

หะดีษนี้ (เป็นหะดีษกุดซี) บันทึกโดยบุคอรีย์

(( وما تَردَّدتُ عن شيءٍ أنا فاعلُهما ترددتُ في قبضِ نفس عبدي المؤمن ،يكره الموتَ ، وأكره مساءته )) 

และข้ามิได้ลังเลในเรื่องใด มากกว่าลังเลที่จะยึดวิญญาณบ่าวผู้ศรัทธาของฉัน  บ่าวของฉันเกลียดความตาย และข้าเกลียดที่จะทำร้ายเขา
 

 
وفي " الزهد " ( ) للإمام أحمد عن عطاء بن يسار ، قال : قال موسى  : يا ربِّ ، مَنْ هُمْ أهلُك الذين تُظلُّهم في ظلِّ عرشك ؟ قالَ : يا موسى ، هُمُ البريئة أيديهم ، الطَّاهرةُ قلوبهم ، الَّذين يتحابُّون بجلالي ، الذين إذا ذكرت ذكروا بي ، وإذا ذكروا ذكرت بذكرهم ، الذين يُسبغون الوضوء في المكاره ، ويُنيبون إلي ذكري كما تُنيب النُّسور إلى وكورها ، ويكْلَفُون بحُبِّي كما يَكلَفُ الصبيُّ بالنّاس ، ويغضبون لمحارمي إذا استُحِلَّت ، كما يغضبُ النَّمِرُ إذا حَرِبَ .
อะฏออฺ (ตาบิอีน) รายงาน(จากเศาะฮาบะฮฺ จากท่านนบี) ว่า ท่านนบีมูซาถามอัลลอฮฺว่า ผู้ใดที่เป็นคนใกล้ชิดของท่าน (ในคัมภีร์ก่อนๆมักจะยกผู้ศรัทธาเป็นบุตรของอัลลอฮฺ-อะฮฺลุกะ หมายถึงคนใกล้ชิด) ที่อยู่ภายใต้ร่มเงาพระบัลลังก์ของพระองค์
อัลลอฮฺตรัสว่า “โอ้มูซาเอ๋ย คนที่มีสิทธิ์อยู่ใกล้ชิดฉันคือ คนที่มือเขาสะอาด หัวใจบริสุทธิ์ รักใคร่กันในหนทางของข้า เมื่อฉันถูกเอ่ยนาม บุคคลเหล่านี้ก็จะถูกเอ่ยมาด้วย 
คนเหล่านี้เมื่อเขาถูกเอ่ยนามที่ไหนก็ตาม อัลลอฮฺก็จะถูกเอ่ยนามมาด้วย (เพราะเขากล่าวถึงอัลลอฮฺเสมอ)
บุคคลเหล่านี้จะอาบน้ำในส่วนอวัยวะที่คนส่วนมากรังเกียจที่จะอาบน้ำละหมาด (เนื่องจากน้ำเย็น)
คนเหล่านี้จะย้อนกลับไปสู่การรำลึกถึงอัลลอฮฺด้วยความคิดถึง เสมือนนกคิดถึงรัง(หรือบ้าน)ของมัน
คนเหล่านี้จะมีความคุ้นเคยกับความรักต่ออัลลอฮฺ เสมือนเด็กที่ชอบเล่น ที่คุ้นเคยกับมนุษย์ที่ชอบเล่นกับเขา
และคนเหล่านี้จะโกรธเมื่อสิ่งที่ต้องห้าม(ที่อัลลอฮฺห้ามไว้)ถึงละเมิด เสมือนเสือเมื่อมีใครแกล้งมันจะแสดงอาการโกรธแค้น
 
قوله :(( فإذا أحببتُه ، كنتُ سمعه الذي يسمع به ، وبصرَه الذي يُبصرُ به ، ويدَه التي يبطش بها ، ورجلَه التي يمشي بها )) ( ) ،
“และเมื่อฉัน(อัลลอฮฺ)รักเขาแล้ว, ฉันจะเป็นหูที่เขาใช้ได้ยิน(ฟัง), และฉันจะเป็นดวงตาที่เขาใช้มอง, และฉันจะเป็นมือของเขาที่ใช้สัมผัส, และฉันจะเป็นเท้าของเขาที่ใช้เดิน”
 وفي بعض الروايات : (( وقلبَه الذي يعقل به ، ولسانه الذي ينطق به )) ( ) .
“และจะเป็นหัวใจที่เขาใช้คิด, และจะเป็นลิ้นที่เขาใช้พูด”
 
มุสลิม – มุอฺมิน – มุหฺซิน
المراد بهذا الكلام : أنَّ منِ اجتهدَ بالتقرُّب إلى الله بالفرائضِ ، ثمَّ بالنوافل ، قَرَّبه إليه ، ورقَّاه من درجة الإيمان إلى درجة الإحسان ،
 
 فيصيرُ يَعبُدُ الله على الحضورِ والمراقبة كأنه يراه ، فيمتلئُ قلبُه بمعرفة الله تعالى ، ومحبَّته ، وعظمته ، وخوفه ، ومهابته ، وإجلاله ، والأُنس به ، والشَّوقِ إليه ، حتّى يصيرَ هذا الذي في قلبه من المعرفة مشاهداً له بعين البصيرة كما قيل :
ساكنٌ في القلب يَعْمُرُه  لَسْتُ أنساهُ فأَذكُرُه
غَابَ عَنْ سمعي وعن بصري  فسُوَيدا القلب تُبصِرُه
 
قال الفضيلُ بن عياض : إن الله يقول : (( كذَب من ادَّعى محبَّتي ، ونام عنِّي ، أليس كل محبٍّ يُحبّ خلوة حبيبه ؟ ها أنا مطَّلعٌ على أحبابي وقد مثَّلوني بين أعينهم ، وخاطبوني على المشاهدة ، وكلَّموني بحضورٍ ، غداً أُقِرُّ أعينهم في جناني )) ( ) .