ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 202 (หะดีษที่ 38/5)

Submitted by admin on Sat, 06/06/2015 - 15:15
หัวข้อเรื่อง
ลักษณะวลีของอัลลอฮฺ, อิบาดะฮฺที่ประเสริฐสุดคือฟัรฎู และหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่หะรอม, การละหมาดทำให้ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ, รางวัลสำหรับผู้ที่อัลลอฮฺรักเขา
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
18 ชะอฺบาน 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
20.80 mb
ความยาว
87.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحديث الثامن والثلاثون  หะดีษที่ 38
عَنْ أَبِي هُريرة  قالَ : قَالَ رَسولُ اللهِ صلى الله عليه وسلم : (( إنَّ الله تَعالَى قَالَ : مَنْ عَادَى لِي وَلِيّاً ، فَقَدْ آذنتُهُ بالحربِ ، وما تَقَرَّب إليَّ عَبْدِي بشيءٍ أحَبَّ إليَّ مِمَّا افترضتُ عَليهِ ، ولا يَزالُ عَبْدِي يَتَقرَّبُ إليَّ بالنَّوافِلِ حتَّى أُحِبَّهُ ، فإذا أَحْبَبْتُهُ ، كُنتُ سَمعَهُ الّذي يَسمَعُ بهِ ، وبَصَرَهُ الّذي يُبْصِرُ بهِ ، ويَدَهُ الَّتي يَبطُشُ بها ، ورِجْلَهُ الّتي يَمشي بِها ، ولَئِنْ سأَلنِي لأُعطِيَنَّهُ ، ولَئِنْ استَعاذَنِي لأُعِيذَنَّهُ )) . رواهُ البخاريُّ( ) .
 
จากอบีฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
    “แท้จริง อัลลอฮฺตะอาลาตรัสว่า (หะดีษกุดซียฺ)
ผู้ใดเป็นศัตรูกับผู้เป็นที่รักของฉัน (วลี) แท้จริงฉันได้ประกาศสงครามกับเขา และบ่าวของฉันจะไม่กระทำอะไรที่ทำให้เขาใกล้ชิดกับฉัน ที่ฉันจะรักยิ่งกว่าการทำฟัรฎู และบ่าวของฉันจะขยันทำอิบาดะฮฺอาสา (นะวาซิล) จนกระทั่งฉันจะรักเขา และเมื่อฉัน(อัลลอฮฺ)รักเขาแล้ว, ฉันจะเป็นหูที่เขาใช้ได้ยิน(ฟัง), และฉันจะเป็นดวงตาที่เขาใช้มอง, และฉันจะเป็นมือของเขาที่ใช้สัมผัส, และฉันจะเป็นเท้าของเขาที่ใช้เดิน และหากเขาได้ขอฉันแล้ว จะให้เขาอย่างแน่นอน, และถ้าหากเขาขอความคุ้มครองต่อฉัน ฉันก็จะให้ความคุ้มครองเขา(อย่างแน่นอน)
หะดีษนี้ (เป็นหะดีษกุดซี) บันทึกโดยบุคอรีย์
วีดีโอ

 كما حكى الله عنهم أنَّهم قالوا : مَا نَعْبُدُهُمْ إِلاَّ لِيُقَرِّبُونَا إِلَى اللهِ زُلْفَى  ( ) ، وكما حكى عن اليهود والنَّصارى أنَّهم قالوا :  نَحْنُ أَبْنَاءُ اللهِ وَأَحِبَّاؤُهُ  ( ) مع إصرارهم على تكذيبِ رُسله ، وارتكاب نواهيه ، وترك فرائضه .
فلذلك ذكرَ في هذا الحديث أنَّ أولياء الله على درجتين :
 أحدهما : المتقرِّبُون إليه بأداءِ الفرائض ، وهذه درجة المقتصدين أصحاب اليمين ، وأداء الفرائض أفضلُ الأعمال كما قال عمرُ بنُ الخطاب  : أفضلُ الأعمال أداءُ ما افترضَ اللهُ ، والوَرَعُ عمّا حرَّم الله ، وصِدقُ النيّة فيما ند الله  . وقال عمرُ بنُ عبد العزيز في خطبته : أفضلُ العبادة أداءُ الفرائض ، واجتنابُ المحارم ( ) ، وذلك لأنَّ الله  إنَّما افترض على عباده هذه الفرائض لِيُقربهم منه ، ويُوجِبَ لهم رضوانه ورحمته .
วลีของอัลลอฮฺ มี 2 ระดับ
ระดับ 1 – แสวงหาความใกล้ชิดกับอัลลอฮฺด้วยการปฏิบัติฟัรฎูเท่านั้น,
อิบนุเราะญับบอกว่าคือ พวกปานกลาง(มุกตะศิดีน) ที่อัลลอฮฺยกย่องในกุรอานว่า อัศฮาบุลยะมีน (ชาวมือขวา) เป็นฉายาของชาวสวรรค์ (คือพวกมือขวา) ดำรงฟัรฎูไม่ใช่เรื่องเล็ก แต่เป็นอะมั้ลที่ประเสริฐที่สุด
อุมัร อิบนุลค็อตต๊อบ – อะมั้ลที่ประเสริฐที่สุดคืออะมั้ลที่อัลลอฮฺบัญชาไว้ และให้มีวะเราะ(หลีกเลี่ยงที่อัลลอฮฺทรงห้ามไว้) และให้มีเหนียต(ตั้งใจ)ที่ดีในสิ่งที่เราหวังจากอัลลอฮฺ
อุมัร อิบนุอับดิลอะซีซ ขึ้นกล่าวคุฏบะฮฺว่า อิบาดะฮฺที่ประเสริฐสุดคือฟัรฎู และหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่หะรอม 
 
وأعظمُ فرائضِ البدن التي تُقرِّب إليه : الصلاةُ ، كما قال تعالى :  وَاسْجُدْ وَاقْتَرِبْ  ( ) ،
96:19 จงสุญูด และเข้าใกล้อัลลอฮฺเถิด
 وقال النَّبيُّ  : (( أقربُ ما يكونُ العبدُ من ربه وهو ساجدٌ )) ( ) ، 
ท่านนบีกล่าวว่า "บ่าวของอัลลอฮฺใกล้ชิดที่สุดกับอัลลอฮฺ ขณะสุญูด"
وقال : (( إذا كان أحدُكم يُصلي ، فإنَّما يُناجي ربَّه ، أو ربُّه بينَه وبينَ القبلة )) ( ) .
“คนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่าน เมื่อเขาละหมาดแล้ว แท้จริงเขากำลังสนทนากับพระเจ้าของเขา หรืออัลลอฮฺอยู่ระหว่างเขากับกิบลัต”
 وقال : (( إنَّ اللهَ يَنصِبُ وجهه لوجه عبده في صلاته ما لم يلتفت )) ( ) .
“อัลลอฮฺตะอาลา จะเผชิญพระพักตร์ของพระองค์กับใบหน้าของบ่าวของพระองค์ขณะละหมาด เว้นแต่ว่าเขาจะเริ่มหันไป (อัลลอฮฺก็หันไปจากเขา)”
ومن الفرائض المقرّبة إلى الله تعالى : عدلُ الرَّاعي في رعيَّته ، سواءٌ كانت رعيَّتُه عامّةً كالحاكم ، أو خاصةً كعدلِ آحاد النَّاس في أهله وولده ، كما قال  : (( كُلُّكم راعٍ وكُلُكم مسؤولٌ عن رعيَّته )) ( ) .
ส่วนหนึ่งของฟัรดูที่ทำให้เราใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ คือความยุติธรรมของผู้นำ(ผู้ปกครอง)กับประชาชน แม้ว่าจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือเป็นควายุติธรรมส่วนบุคคลกับคนใกล้ตัว เช่น หัวหน้าครอบครัวกับสมาชิกในครอบครัว, สามีกับภรรยาสองคน, พ่อกับลูกแต่ละคน ฯลฯ 
“ทุกคนที่มีความรับผิดชอบต่อบุคคลภายใต้การดูแลของเขา ถือว่าเป็นผู้ปกครอง(รออีย์)คนหนึ่ง 
“ทุกคนในหมู่พวกท่านเป็นผู้รับผิดชอบ (ผู้นำ, รออีย์) และทุกคนในหมู่พวกท่านต้องถูกสอบสวนต่อความรับผิดชอบของเขา
وفي " الترمذي " ( ) عن أبي سعيد ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( إنَّ أحبَّ العبادِ إلى الله يَومَ القيامةِ وأدناهم إليه مجلساً إمامٌ عادلٌ )) .
 
الدرجة الثانية : درجةُ السابقين المقرَّبين ، وهُمُ الذين تقرَّبوا إلى الله بعدَ الفرائض بالاجتهاد في نوافل الطاعات ، والانكفافِ عن دقائقِ المكروهات بالوَرعِ ، وذلك يُوجبُ للعبدِ محبَّة اللهِ ،
ตำแหน่งที่ 2 คนที่อยู่ในแนวหน้า (อัซซาบิกีน) ที่ใกล้ชิด
คนที่ฟัรฎูสมบูรณ์แล้ว และขยันเรื่องอาสา(นัฟลู) ฏออัตต่างๆ ปิดกั้นตัวเอง(ระงับตัวเอง)จากสิ่งที่ละเอียดอ่อนของมักรูหฺ 
 كما قال : (( ولا يزالُ عبدي يتقرَّبُ إليَّ بالنوافِلِ حتّى أُحبَّه )) ( ) ،
"แล้วเขาจะขยันทำนะวาฟิล(ซุนนะฮฺทั่วไป,อาสา) จนกระทั่งฉันรักเขา"
 
 فمن أحبه الله ، رزقه محبَّته وطاعته والاشتغالَ بذكره وخدمته ، فأوجبَ له ذلك القرب منه ، والزُّلفى لديه ، والحظْوة عنده ،
ผู้ใดที่อัลลอฮฺรักเขาแล้ว อัลลอฮฺจะให้ริสกีเขาซึ่งความรัก( คือให้เขารักอัลลอฮฺ), และจะให้การเชื่อฟัง, ความคลุกคลีกับการรำลึกถึงอัลลอฮฺและรับใช้พระองค์, เมื่ออาสาแบบนี้ก็จะทำให้ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ และมีสิทธิในการขอ(เรียกร้อง)ต่ออัลลอฮฺ, และจะมีตำแหน่ง ณ อัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตอาลา
 
 
 
icon4