หัวข้อเรื่อง
"..จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง",
การอธรรม(อัซซุลมฺ),
ตะกับบุร(ยโส),
ลักษณะชาวสวรรค์-ชาวนรก,
อัลบะรออฺ อิบนุมาลิก
การอธรรม(อัซซุลมฺ),
ตะกับบุร(ยโส),
ลักษณะชาวสวรรค์-ชาวนรก,
อัลบะรออฺ อิบนุมาลิก
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
14 มุฮัรรอม 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
23.10 mb
ความยาว
97.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
คลิ้กเพื่อรับฟัง/ดาวน์โหลด (คลิ้กขวา บันทึกเป็น.../Save as...)
วีดีโอ
รายละเอียด
วีดีโอ
الحديث الخامس والثلاثون
عَنْ أَبي هُريرةَ رضي الله عنه ، قالَ : قالَ رسول الله صلى الله عليه وسلم : (( لا تَحَاسَدُوا ، ولا تَنَاجَشوا ، ولا تَبَاغَضُوا ، ولا تَدَابَرُوا ، ولا يَبِعْ بَعضُكُمْ على بَيعِ بَعضٍ ، وكُونُوا عِبادَ اللهِ إِخْواناً ، المُسلِمُ أَخُو المُسلم ، لا يَظلِمُهُ ولا يَخذُلُهُ ، ولا يَكذِبُهُ ، ولا يَحقِرُهُ ، التَّقوى هاهُنا )) ، - ويُشيرُ إلى صدرِهِ ثلاثَ مرَّاتٍ - (( بِحَسْبِ امرئٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يَحقِرَ أخَاهُ المُسلِمَ ، كُلُّ المُسلمِ على المُسلِمِ حرامٌ : دَمُهُ ومَالُهُ وعِرضُهُ )) . رواه مسلم .
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ท่านทั้งหลายอย่าได้อิจฉาริษยากันและกัน อย่าแย่งผลประโยชน์กัน อย่าโกรธกัน อย่าหันหลังให้แก่กัน อย่าซื้อขายโดยหักหลังซึ่งกันและกัน(ตัดหน้า) จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง – เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา”
หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
وأيضاً ، فإنَّ الأخ مِنْ شأنه أنْ يوصِلَ إلى أخيه النَّفع ، ويكفَّ عنه الضَّرر ، ومن أعظم الضرِّ الذي يجبُ كفُّه عَنِ الأَخِ المسلم الظُّلم ، وهذا لا يختصُّ بالمسلم ، بل هو محرَّمٌ في حقِّ كلِّ أحَدٍ ، وقد سبق الكلام على الظُّلم مستوفى عندَ ذكر حديث أبي ذرِّ الإلهي : (( يا عبادي إنِّي حرَّمتُ الظُّلم على نفسي ، وجعلته بينكم محرَّماً ، فلا تظالموا )) ( ) .
กิจการของพี่น้องที่ต้องทำซึ่งกันและกันคือเอาประโยชน์ไปให้พี่น้อง, ระงับการทำร้ายคนอื่น, ความเสียหายที่ต้องระงับมากที่สุดคือ ซุลุ่ม(อธรรม) มารยาทในการระงับอธรรมไม่ใช่เฉพาะมุสลิมเท่านั้น การอธรรมผู้อื่นเป็นสิ่งที่หะรอมสำหรับทุกคน(ไม่ว่ามุสลิมหรือกาฟิร) เคยอธิบาย “ซุลุ่ม”แล้วในหะดีษของอบูซัร (หะดีษกุดซียฺ) คือ “โอ้บ่าวของข้า ข้าได้ถือว่าซุหลุ่ม(อธรรม)นั้นเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับข้า และข้าได้ทำให้ซุหลุ่มนั้นเป็นที่ต้องห้ามสำหรับพวกเจ้าเช่นกัน ดังนั้นพวกเจ้าทั้งหลายอย่าซุหลุ่มกัน” ...หะดีษที่ 24
ومِنْ ذلك : خِذلانُ المسلم لأخيه ، فإنَّ المؤمن مأمورٌ أنْ يَنصُرَ أخاه ، كما قال : (( انصُر أخاك ظالماً أو مظلوماً )) ، قال : يا رسولَ الله ، أنصُرُهُ مَظلوماً ، فكيف أنصره ظالماً ؟ قال : (( تمنعه عنِ الظُّلم ، فذلك نصرُك إيَّاه )) . خرَّجه البخاري ( ) بمعناه من حديث أنس ، وخرَّجه مسلم ( ) بمعناه من حديث جابر .
ส่วนหนึ่งของ “การอธรรม(ซุหลุ่ม)” คือ การทอดทิ้งพี่น้องมุสลิม ไม่ช่วยเหลือในโอกาสที่สามารถช่วยเหลือได้, เห็นว่าเขาถูกอธรรม และมีความช่วยเหลือเขาได้ แต่ไม่ช่วย มุอฺมินถูกใช้ให้ช่วยเหลือพี่น้อง ดังที่ท่านนบีบอกไว้ว่า “ จงช่วยเหลือพี่น้องไม่ว่าเขาจะเป็นผู้อธรรมหรือถูกอธรรม” เศาะฮาบะฮฺถามว่า “โอ้นบีครับ เราช่วยเหลือผู้ถูกอธรรม แต่สำหรับผู้อธรรมจะช่วยอย่างไร”
ท่านนบีตอบว่า “ถ้าเป็นผู้อธรรม ก็ให้ระงับ(ขัดขวาง)เขา นี่คือการช่วยเหลือเขา"
وخرَّج أبو داود ( ) من حديث أبي طلحة الأنصاري وجابرِ بن عبد الله ، عن النَّبيِّ ، قال : (( ما مِن امرئٍ مسلمٍ يخذُلُ امرأً مسلماً في موضع تُنتَهكُ فيه حرمتُه ، ويُنتقصُ فيه من عِرضه ، إلاّ خذله الله في موطنٍ يُحبُّ فيه نُصرتَه ، وما مِن امرئٍ ينصرُ مسلماً في موضع يُنتقصُ فيه من عِرضِه ، ويُنتهكُ فيه من حرمته ، إلاّ نصره الله في موضع يحبُّ فيه نصرَتَه)) .
وخرّج الإمام أحمد ( ) من حديث أبي أمامة بن سهل ، عن أبيه ، عن النَّبيِّ ، قال : (( مَنْ أُذِلَّ عنده مؤمنٌ ، فلم ينصُرْه وهو يقدِرُ على أن ينصُرَه ، أذلَّه الله على رؤوس الخلائق يوم القيامة )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ผู้ใดที่มุอฺมินถูกข่มเหงต่อหน้าเขา แล้วไม่ได้ช่วยเหลือ ทั้งๆที่สามารถช่วยได้ วันกิยามะฮฺก็จะถูกข่มเหง(รังแก)ต่อหน้าประชาชาติ”
وخرَّج البزار ( ) من حديث عِمران بن حُصين ، عن النَّبيِّ ، قال : (( مَنْ نَصرَ أخاه بالغيب وهو يستطيعُ نصرَه ، نَصَرَهُ الله في الدُّنيا والآخرة )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ใครที่ช่วยเหลือพี่น้องเขาลับหลัง ในขณะที่เขาสามารถช่วยเหลือได้ อัลลอฮฺจะช่วยเหลือเขาในวันกิยามะฮฺ”
ومن ذلك : كذِبُ المسلم لأخيه ، فلا يَحِلُّ له أن يُحدِّثه فيكذبه ، بل لا يُحدِّثه إلاَّ صدقاً ، وفي " مسند الإمام أحمد " ( ) عن النَّوَّاس بن سمعان ، عن النَّبيِّ ، قال : (( كَبُرَت خِيانةً أن تُحدِّثَ أخاكَ حديثاً هو لك مصدِّقٌ وأنت به كاذب )) .
หนึ่งในซุหลุ่มที่ไม่ควรกระทำกับพี่น้องมุสลิมคือ การโกหก
หะดีษ “ช่างทรยศเหลือเกิน คนที่พูดคุยกับพี่น้องในเรื่องหนึ่งเรื่องใด พี่น้องเขาเชื่อเขา แต่เขานั้นโกหก”
ومن ذلك : احتقارُ المسلم لأخيه المسلم ، وهو ناشئٌ عن الكِبْرِ ، كما قال النَّبيُّ : (( الكِبْرُ بَطَرُ الحقِّ وغَمْطُ الناس )) خرَّجه مسلم ( )
15- หนึ่งในการอธรรมคือ การดูถูกพี่น้องมุสลิม ไม่ให้เกียรติกัน ซึ่งมันเกิดจากตะกับบุร ดังที่ท่านนบีกล่าวว่า “ความยโสนั้นคือ ปฏิเสธความจริง และดูถูกผู้คน”
من حديث ابن مسعود ، وخرَّجه الإمام أحمد ( ) ، وفي رواية له : (( الكبرُ سَفَهُ الحقِّ ، وازدراءُ الناس )) ، وفي رواية : (( وغمص الناس )) ( ) ، وفي رواية زيادة : (( فلا يَراهم شيئاً )) وغمص النَّاس : الطَّعنُ عليهم وازدراؤهم ( ) ،
“ตะกับบุรคือไม่จริงใจกับความจริง และดูถูกผู้คน” อีกรายงานหนึ่ง “ไม่ให้เกียรติเขา” อีกสายรายงานหนึ่ง “มองเห็นชาวบ้านเสมือนว่าไม่มีเลย”
وقال الله : يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا لا يَسْخَرْ قَوْمٌ مِنْ قَوْمٍ عَسَى أَنْ يَكُونُوا خَيْراً مِنْهُمْ وَلا نِسَاءٌ مِنْ نِسَاءٍ عَسَى أَنْ يَكُنَّ خَيْراً مِنْهُنّ ( ) ،
49:11 โอ้ศรัทธาชนทั้งหลาย! ชนกลุ่มหนึ่งอย่าได้เยาะเย้ยชนอีกกลุ่มหนึ่ง บางทีชนกลุ่มที่ถูกเยาะเย้ยนั้นจะดีกว่าชนกลุ่มที่เยาะเย้ย และสตรีกลุ่มหนึ่งอย่าได้เยาะเย้ยจะดีกว่ากลุ่มที่เยาะเย้ย
فالمتكبر ينظرُ إلى نفسه بعين الكمال ، وإلى غيره بعين النَّقصِ ، فيحتقرهم ويزدريهم ، ولا يراهم أهلاً لأنْ يقومَ بحقُوقهم ، ولا أن يقبلَ مِنْ أحد منهم الحقَّ إذا أورده عليه .
وقوله : (( التَّقوى هاهنا )) يشير إلى صدره ثلاثَ مرَّاتٍ : فيه إشارةٌ إلى أنَّ كرم الخَلْق عند الله بالتَّقوى ، فربَّ من يحقِرُه الناس لضعفه ، وقلَّةِ حظِّه من الدُّنيا ، وهو أعظمُ قدراً عند الله تعالى ممَّن له قدرٌ في الدُّنيا ، ،
“ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง
เกียรติของมนุษย์ ณ อัลลอฮฺอยู่ที่ตักวา บางคนอ่อนแอ ยากจน แต่ ณ อัลลอฮฺถือว่าเป็นคนใหญ่โตกว่าคนที่ใหญ่โตในโลกดุนยานี้
ท่านนบีกล่าวว่า “บางคนยากจนเสื้อผ้าเปื้อนฝุ่นตลอด ผมยุ่ง ไปเคาะประตูบ้านใคร ก็ไม่มีใครเปิดประตูให้ แต่เมื่อเขายกมือ(ขอดุอาอฺ)ประตูฟ้าทุกชั้นจะเปิดถึงอัลลอฮฺ สาบานต่ออัลลอฮฺ ว่าอัลลอฮฺต้องตอบรับดุอาอฺของเขา”
فإنَّ الناسَ إنّما يتفاوتُون بحسب التَّقوى كما قال الله تعالى : إِنَّ أَكْرَمَكُمْ عِنْدَ اللهِ أَتْقَاكُمْ ( ) ،
คนจะต่างกันด้วยตักวา (ไม่ใช่เงินทองหรือตำแหน่ง) คนที่มีเกียรติ ณ อัลลอฮิมากที่สุด คือคนที่มีตักวามากที่สุด ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า “แท้จริงผู้ที่มีเกียรติยิ่งในหมู่พวกเจ้า ณ ที่อัลลอฮ.นั้น คือผู้ที่มีความยำเกรงยิ่งในหมู่พวกเจ้า” (49:13)
وسئل النَّبيُّ : مَنْ أكرمُ الناسِ ؟ قال : (( أتقاهُم لله )) ( ) .
นบีเคยถูกถามว่า “ใครที่มีเกียรติมากที่สุด?” นบีตอบว่า “คนที่มีตักวาต่ออัลลอฮฺมากที่สุด”
وفي حديث آخر : (( الكرمُ التَّقوى )) ( ) ، والتَّقوى أصلُها في القلب ، كما قال تعالى : وَمَنْ يُعَظِّمْ شَعَائِرَ اللهِ فَإِنَّهَا مِنْ تَقْوَى الْقُلُوبِ ( ) .
หะดีษอีกบทหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า “เกียรตินั้นคือตักวา”
ตักวานั้นอยู่ที่หัวใจ ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า
22:32 ฉะนั้น ผู้ใดที่ให้เกียรติแก่พระบัญญัติของอัลลอฮ์ แท้จริงมันเป็นส่วนหนึ่งแห่งการยำเกรงของจิตใจ
وقد سبق ذكر هذا المعنى في الكلام على حديث أبي ذرٍّ الإلهي عند قوله : (( لو أنَّ أوَّلكم وآخرَكم وإنسَكُم وجنَّكُم كانوا على أتقى قلبِ رجلٍ واحد منكم ، ما زاد ذلك في مُلكي شيئاً )) ( ) .
وإذا كان أصلُ التَّقوى في القُلوب ، فلا يطَّلعُ أحدٌ على حقيقتها إلا الله ، كما قال : (( إنَّ الله لا ينظرُ إلى صُورِكُم وأموالِكم ، ولكن ينظرُ إلى قلوبكم وأعمالكم )) ( )
وحينئذ ، فقد يكونُ كثيرٌ ممَّن له صورةٌ حسنةٌ ، أو مالٌ ، أو جاهٌ ، أو رياسةٌ في الدنيا ، قلبه خراباً من التقوى ، ويكون من ليس له شيء من ذلك قلبُه مملوءاً مِنَ التَّقوى ،
فيكون أكرمَ عند الله تعالى ، بل ذلك هو الأكثر وقوعاً ،
كما في " الصحيحين " ( ) عن حارثةَ بن وهبٍ ، عن النَّبيِّ ، قال : (( ألا أُخبِرُكم بأهل الجنَّةِ : كلُّ ضعيف متضعَّفٍ ، لو أقسم على الله لأبرَّهُ ، ألا أخبركم بأهل النَّارِ : كلُّ عُتُلٍّ جَوَّاظٍ مُستكبِرٍ )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “อยากรู้มั้ยชาวสวรรค์คือใคร?”
“คนที่อ่อนแอมาก แสดงท่าว่าอ่อนแอ” “เมื่อเขาสาบานขอต่ออัลลอฮฺ(ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง) อัลลอฮฺจะให้เขา”
“อยากรู้มั้ยชาวนรกเป็นอย่างไร ?” "คือคนยโส ตอแหล ดูถูกคนอื่น "
وفي " المسند " ( ) عن أنس عن النَّبيِّ ، قال : (( أمَّا أهلُ الجنَّة ، فكلُّ ضعيفٍ متضعَّفٍ ، أشعث ، ذي طِمرين ، لو أقسمَ على الله لأبرَّه ؛ وأمَّا أهلُ النَّارِ ، فكلُّ جَعْظَريٍّ جَوَّاظ جمَّاعٍ ، منَّاعٍ ، ذي تَبَع )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “สำหรับชาวสวรรค์นั้นคือ คนอ่อนแอ แสดงความอ่อนแอ, ผมยุ่ง, เสื้อสองชิ้น, หากเขาสาบานขอต่ออัลลอฮฺ อัลลอฮฺก็จะให้แน่นอน”
“สำหรับชาวนรกนั้นคือ คนที่ลามก พูดจาไม่ไพเราะ, แสดงความแข็งแกร่ง(แต่ตนเองอ่อนแอ), สะสมทรัพย์, ตระหนี่ต่อภารกิจในสังคม, พรรคพวกเยอะ”
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 258 views
WCimage