ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 153 (หะดีษที่ 31/2)

Submitted by dp6admin on Sat, 07/09/2013 - 15:38
หัวข้อเรื่อง
“จงดูถูกดุนยา(สมถะต่อดุนยา) แล้วอัลลอฮฺจะทรงรักท่าน...", อัซซุฮดฺ, ความสมถะ การขัดเกลาจิตใจ ตะเซาวุฟ, เปรียบเทียบดุนยากับอาคิเราะฮฺ, ดุนยาแค่ปีกยุง, อย่ามั่นใจ(ไว้วางใจ)ในทรัพย์สินของท่าน มากกว่าความไว้วางใจในสิ่งที่อยู่ ณ อัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา, สิ่งที่เข้ามาในหัวใจ หรือออกไปจากหัวใจ ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหัวใจได้
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
29 เชาวาล 1434
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
16.00 mb
ความยาว
69.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

الحديث الحادي والثلاثون

عَنْ سهلِ بنِ سعْدٍ السَّاعِديِّ قال : جاءَ رجُلٌ إلى النَّبيِّ صلى الله عليه وسلم  فقالَ :  يا رَسولَ الله دُلَّني عَلى عَمَلٍ إذا عَمِلْتُهُ أَحَبَّنِي الله ، وأحَبَّنِي النَّاسُ ، فقال  : (( ازهَدْ فِي الدُّنيا يُحِبَّكَ الله ، وازهَدْ فيمَا في أيدي النَّاسِ يُحبَّكَ النَّاسُ )) .
 حديثٌ حسنٌ رَواهُ ابنُ ماجه ( ) وغيرُهُ بأسانِيدَ حَسَنةٍ .
จากอบูอับบาส (สะฮลุบนุสะอดฺ อัสสาอิดี) กล่าวว่า
มีชายคนหนึ่งไปหาท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แล้วถามว่า “โอ้ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ! ขอได้โปรดบอกฉันถึงการงานอย่างหนึ่งเมื่อฉันทำแล้วจะทำให้อัลลอฮฺทรงรักฉัน และการงานที่จะทำให้ผู้คนรักฉันด้วย” ท่านตอบว่า “จงดูถูกดุนยา(สมถะต่อดุนยา) แล้วอัลลอฮฺจะทรงรักท่าน และจงดูถูกสิ่งที่มีอยู่ในครอบครองของมนุษย์ แล้วมนุษย์จะรักท่าน”

 
وقد ذمَّ الله مَنْ كان يُريد الدُّنيا بعمله وسعيه ونيَّته ، وقد سبق ذكرُ ذلك في الكلام على حديث : (( الأعمال بالنيات )) ( ) .
อัลลอฮฺตำหนิผู้ประสงค์ดุนยาในการงานของเขา ในการขวนขวาย, เจตนาของเขา เรื่องนี้อธิบายไว้แล้วในหะดีษที่ 1
 
มีหลักฐานมากมายให้ดูถูกดุนยา เช่นหะดีษนี้
والأحاديث في ذمِّ الدُّنيا وحقارتها عند الله كثيرةٌ جداً ، ففي " صحيح 
مسلم " ( ) عن جابر : أنَّ النَّبيَّ  مرَّ بالسُّوقِ والنَّاسُ كَنَفَيْهِ ( ) ، فمرَّ بجديٍّ 
أسكَّ ( ) ميِّتٍ ، فتناوله ، فأخذ بأذنه ، فقال : (( أيُّكم يُحبُّ أنَّ هذا له بدرهم ؟ )) فقالوا : ما نحبُّ أنَّه لنا بشيء ، وما نصنع به ؟ قال : (( أتحبُّون أنَّه لكم ؟ )) قالوا : والله لو كان حياً كان عيباً فيه ؛ لأنَّه أسكُّ ، فكيف وهو ميت ؟ فقال : (( والله للدُّنيا أهونُ على الله من هذا عليكم )) .
ท่านนบีเดินผ่านตลาด เห็นซากแพะมีตำหนิ ท่านนบีจับแพะที่หูและดึงขึ้น ถามว่า “ใครอยากได้มั้ยแพะตัวนี้ 1 ดิรฮัม”  (แพะนี้ให้ฟรีก็ไม่เอา จะเอาไปทำอะไร) นบีถามย้ำว่า “ชอบมั้ยที่พวกท่านจะเป็นเจ้าของแพะตัวนี้” เศาะฮาบะฮิตอบว่า “โอ้นบี ถ้ามันมีชีวิตก็ไม่มีใครเอา (เพราะมีตำหนิ หูมันสั้น) นี่มันตายใครจะเอา” 
นบีกล่าวว่า “ขอสาบานด้วยพระนามของอัลลอฮฺ แท้จริงดุนยาต่ำต้อยกว่าแพะตัวนี้สำหรับพวกท่าน” (สิ่งที่มีในดุนยานี้ทั้งหมด เปรียบเสมือนแพะตัวนี้)
- รูปแบบการสอนของท่านนบี แม้อยู่ในตลาด นบีก็สอนได้
 
وفيه أيضاً ( ) عن المستورد الفهري ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( ما الدُّنيا في الآخرة إلاَّ كما يَجْعَلُ أحدُكم أصبَعَهُ في اليمِّ ، فلينظر بماذا ترجع )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ดุนยานี้เทียบแล้วกับอาคิเราะฮฺ เปรียบเสมือนนิ้วหนึ่งของพวกท่านจุ่มลงในแม่น้ำ(หรือทะเล หรือมหาสมุทร) แล้วดึงขึ้นมา ส่วนของน้ำที่ติดนิ้วมาคือดุนยาเทียบกับอาคิเราะฮฺ”
 
وخرَّج الترمذي ( ) من حديث سهل بن سعد ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( لو كانتِ الدُّنيا تعدِلُ عندَ الله جناح بعوضةٍ ، ما سقى كافراً منها شربةً )) وصححه ( ) .
ومعنى الزهد في الشيء : الإعراضُ عنه لاستقلاله ، واحتقاره ، وارتفاع الهمَّةِ 
عنه ، يقال : شيء زهيد ، أي : قليل حقير ( ) .
وقد تكلَّم السَّلفُ ومَنْ بعدَهم في تفسير الزُّهد في الدُّنيا ، وتنوَّعت عباراتهم عنه ، وورد في ذلك حديثٌ مرفوع خرَّجه الترمذي ( ) وابن ماجه ( ) من رواية عمرو بن واقدٍ ، عن يونس بن حلبس ، عن أبي إدريس الخولانيِّ ، عن أبي ذرٍّ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( الزَّهادةُ في الدُّنيا ليست بتحريم الحلال ، ولا إضاعة المال ، ولكن الزهادة في الدُّنيا أنْ لا تكونَ بما في يديك أوثقَ ممَّا في يد الله ، وأنْ تكون في ثواب المصيبة إذا أنتَ أُصبتَ بها أَرغبَ فيها لو أنَّها بقيت لك )) . وقال الترمذي : غريب لا نعرفه إلاَّ من هذا الوجه ، وعمرو بن واقد منكر الحديث ( ) .
قلت : الصحيح وقفه ، كما رواه الإمام أحمد في كتاب " الزهد " ( ) ، حدثنا زيد بن يحيى الدمشقي ، حدثنا خالدُ بنُ صبيح ، حدثنا يونس بن حلبس قال : قال أبو مسلم الخولاني : ليس الزهادةُ في الدُّنيا بتحريم الحلال ، ولا إضاعة المال ، إنَّما الزهادة في الدُّنيا أنْ تكونَ بما في يد الله أوثق مما في يديك ، وإذا أُصِبْتَ بمصيبةٍ ، كنت أشدَّ رجاءً لأجرها وذُخرها مِن إيَّاها لو بقيت لك .
وخرَّجه ابن أبي الدُّنيا من راوية محمد بن مهاجر ، عن يونس بن ميسرة ، قال : ليس الزَّهادة في الدُّنيا بتحريم الحلال ، ولا بإضاعة المال ، ولكن الزهادة في الدُّنيا أنْ تكونَ بما في يد الله أوثق منك بما في يدك ، وأنْ يكونَ حالك في المصيبة وحالُك إذا لم تُصب بها سواءً ، وأنْ يكون مادحُك وذامُّك في الحقِّ سواء .
 
ففسر الزهد في الدُّنيا بثلاثة أشياء كُلُّها من أعمال القلوب ، لا من أعمال 
الجوارح ، ولهذا كان أبو سليمان يقول : لا تَشْهَدْ لأحدٍ بالزُّهد ، فإنَّ الزُّهد في القلب .