ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 2 (หะดีษที่ 1/2)

Submitted by dp6admin on Fri, 25/09/2009 - 15:25
หัวข้อเรื่อง
ประเภทอะมั้ล(การงาน)ที่ทำเพื่ออื่นจากอัลลอฮฺ, ริยาอฺที่เข้ามาแทรงแซงในอะมั้ล การงานนั้นจะใช้ได้หรือไม่, อะมั้ล(การงาน)ที่โมฆะเนื่องจากเนียตไม่บริสุทธิ์, บัยอุลอีนะฮฺ อัตตะวัรรุก, นิกาหฺมุตอะฮฺ, การเหนียตละหมาด, กล่าวอุศ็อลลี, จบหะดีษที่ 1//
สถานที่
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันที่บรรยาย
15 ญุมาดาอัลอาคิเราะฮฺ 1429
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
9.00 mb
ความยาว
77.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

أنواع العمل لغير الله ประเภทอะมั้ล(การงาน)ที่ทำเพื่ออื่นจากอัลลอฮฺ

1- ริยาอฺ มะหฺฎอน رياء محضا - (ริยาอฺเต็มๆ)ไม่ประสงค์อะไรเลยนอกจากเพื่อให้ผู้คนเห็น ไม่ได้ทำเพื่ออัลลอฮฺเลย ผู้ที่มีริยาอฺแบบนี้ไม่น่าจะเป็นมุอฺมิน สิ่งที่ทำก็ไม่ได้ผลบุญ และสมควรได้รับการลงโทษด้วย
واعلم أن العمل لغير الله أقسام فتارة يكون رياء محضا بحيث لا يراد به سوى مرئيات المخلوقين لغرض دنيوي كحال المنافقين في صلاتهم قال الله عز وجل وإذا قاموا إلى الصلاة قاموا كسالى يراءون الناس
 وهذا الرياء المحض لا يكاد يصدر عن مؤمن في فرض الصلاة والصيام وقد يصدر في الصدقة الواجبة والحج وغيرهما من الأعمال الظاهرة والتي يتعدى نفعها فإن الإخلاص فيها عزيز وهذا العمل لا يشك مسلم أنه حابط وأن صاحبه يستحق المقت من الله والعقوبة

2- ริยาอฺที่เข้ามาแทรงแซงในอะมั้ล - บางครั้งทำการงานเพื่ออัลลอฮฺ แต่ขณะที่ทำก็มีโอ้อวดเข้ามาแทรกด้วย
وتارة يكون العمل لله ويشاركه الرياء فإن شاركه من أصله فالنصوص الصحيحة تدل على بطلانه أيضا وحبوطه
ในหะดีษกุดซียฺ อัลลอฮฺตรัสว่า "ข้าเป็นผู้หนึ่งในบรรดาผู้ที่ถึงหุ้นส่วนในอะมั้ลต่างๆที่มั่งคั่ง ไม่ต้องการหุ้นส่วนของผู้อื่นเลย ใครก็ตามได้ปฏิบัติอะมั้ลและถวายไว้ โดยที่ไปตั้งภาคีคู่เคียงกับข้า ข้าก็จะละทิ้งเขาพร้องภาคี(หรือชิริก)ที่เขาได้ทำไว้
وفي صحيح مسلم عن أبي هريرة رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم قال يقول الله تبارك وتعالى أنا أغنى الشركاء عن الشرك من عمل عملا أشرك معي فيه غيري تركته وشركه

ริยาอฺที่เข้ามาแทรงแซงในอะมั้ล การงานนั้นจะใช้ได้หรือไม่
ผู้ที่ถูกรายงานจากเขาว่าอะมั้ลที่ปะปนด้วยริยาอฺเป็นโมฆะนั้น มีรายงานจากสลัฟ
 ومن يٌروي عنه هذا المعنى أن العمل إذا خالطه شيء من الرياء كان باطلا طائفة من السلف ولا نعرف عن السلف في هذا خلافا وإن كان فيه خلاف عن بعض المتأخرين

3- เหนียตอิคลาศตั้งแต่แรก แต่ริยาอฺมาทีหลัง
- อิคลาศแต่แรก แต่ริยาอฺเข้ามาแว้บๆ เขาก็พยายามไล่มันไป ก็ไม่มีผลอันตรายกับเขา
- แต่ถ้าแว้บเข้ามา แล้วเราเฉย ไม่ต่อต้าน การงานนั้นใช้ได้หรือไม่ สลัฟขัดแย้งกัน
وأما إن كان أصل العمل لله ثم طرأت عليه نية الرياء فلا يضره فإن كان خاطرا ودفعة فلا يضره بغير خلاف فإن استرسل معه فهل يحبط عمله أم لا يضره ذلك ويجازى على أصل نيته في ذلك اختلاف بين العلماء من السلف
อิมามอะหมัดถูกถามเรื่องริยาอฺที่แทรงแซงมา
قد حكاه الإمام أحمد وابن جرير الطبري وأرجو أن عمله لا يبطل بذلك وأنه يجازى بنيته الأولي وهو مروي  عن الحسن البصري وغيره
- ถ้าเราพยายามต่อสู้ พยายามปัดริยาอฺออกตลอด หวังว่าอะมั้ลนั้นจะได้รับผลบุญ เนื่องด้วยเหนียตในตอนแรก
- การเตรียมเหนียตก่อนทำอะมั้ลสำคัญมาก ตอนปลายจะเสียหาย หากว่าตอนต้นมันเสียหาย
ويستدل لهذا القول بما خرجه أبو داود في مراسيله عن عطاء الخراساني أن رجلا قال يا رسول الله إن بني سلمة كلهم يقاتل فمنهم من يقاتل للدنيا ومنهم من يقاتل نجدة ومنهم من يقاتل ابتغاء وجه الله فأيهم الشهيد قال كلهم إذا كان أصل أمره أن تكون كملة الله هي العليا

นบีถูกถามถึงคนที่ต่อสู้ในสงครามเพื่อโอ้อวด เพื่อปกป้อง ใครที่ฟีสะบีลิลลาฮฺ (บนีสะละมะฮฺ) นบีตอบว่า ทั้งหมดนั้นเป็นชะฮีด ถ้าเจตนาของเขาแต่แรกนั้นเพื่อให้พระดำรัสของอัลลอฮฺสูงส่ง แม้เจตนาอื่นจะมาทีหลัง (เช่น เพื่อช่วยพรรคพวก เพื่อทรัพย์เชลย)

الأعمال الباطلة  อะมั้ล(การงาน)ที่โมฆะเนื่องจากเนียตไม่บริสุทธิ์

 وقد استدل بقوله صلى الله عليه وسلم الأعمال بالنيات وإنما لكل امريء مانوى على أن العقود التي يقصد بها في الباطن التوصل إلى ما هو محرم غير صحيحة كعقود البيوع التي يقصد بها معنى الربا ونحوها كما هو مذهب مالك وأحمد وغيرهما فإن هذا العقد إنما نوى به الربا لا بالبيع وإنما لكل امريء مانوى ومسائل النية المتعلقة بالفقه كثيرة جدا وفيما ذكرنا كفاية وقد تقدم عن الشافعي أنه قال في هذا الحديث إنه يدخل في سبعين بابا من الفقه والله أعلم والنية هي قصد القلب ولا يجب التلفظ بما في القلب في شيء من العبادات وخرج بعض أصحاب الشافعي له قولا باشتراط التلفظ بالنية للصلاة وغلط المحققون منهم واختلف المتأخرون من الفقهاء في التلفظ بالنية في الصلاة وغيرها فمنهم من استحبه ومنهم من كرهه ولا نعلم في هذه المسائل نقلا خاصا عن السلف ولا عن الأئمة إلا في الحج وحده .

- การทำสัญญาต่อกัน เพื่อทำสิ่งที่หะรอม เช่น สัญญาซื้อขายที่เจตนาแสวงหาดอกเบี้ย เช่น บัยอุลอีนะฮฺ วัตตะวัรรุก เหมือนกับนิกาหฺมุตอะฮฺ
- เหนียตคือเจตนาของหัวใจ ไม่บังคับเลยให้เอ่ย(พูด)สิ่งที่เกี่ยวกับหัวใจกิจการของอิบาดะฮฺต่างๆ
- การกล่าวอุศ็อลลี
- อิบนุรอญับ "ไม่มีรายงานจากบรรดาสลัฟ (นบี ศอฮาบะฮฺ ตาบิอีน) พูดถึงเรื่องนี้ (คือการเหนียตด้วยคำพูด) ยกเว้นเรื่องฮัจญฺเท่านั้น (ที่มีทัศนะให้กล่าวเหนียต)
- ไม่มีในเรื่องการละหมาด ถือศีลอด (บางมัซฮับให้กล่าวเหนียตก่อนเวลาอิมซ้าก) บริจาค
 

WCimage
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 2 (หะดีษที่ 1/2)