หะดีษญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 1 (หะดีษที่ 1-30)
หะดีษญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 1 (หะดีษที่ 1-30) dp6admin Mon, 13/04/2009 - 15:55- 7250 views
หะดีษที่ 1 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา (2)
หะดีษที่ 1 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา (2)"الحديث الأول"
عَنْ أَمِيْرِ المُؤْمِنِيْنَ أَبِيْ حَفْصٍ عُمَرَ بْنِ الخَطَّابِ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ قَالَ سَمِعْتُ رَسُوْلَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يَقُوْلُ : إِنَّمَا الأَعْمَالُ بِالنِّيَّاتِ وَإِنَّمَا لِكُلِّ امْرِيءٍ مَا نَوَى فَمَنْ كَانَتْ هِجْرَتُهُ إِلَى اللهِ وَرَسُوْلِهِ فَهِجْرَتُهُ إِلَى اللهِ وَرَسُوْلِهِ وَمَنْ كَانَتْ هِجْرَتُهُ لِدُنْيَا يُصِيْبُهَا أَوِ امْرَأَةٍ يَنْكِحُهَا فَهِجْرَتُهُ إِلَى مَا هَاجَرَ إِلَيْهِ . رواه البخاري ومسلم
หะดีษที่ 1
จากอะมีรุ้ล-มุอฺมินีน อบูฮัฟส์ (ท่านอุมัร บิน อัลค็อฏฏ๊อบ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
“แท้จริง กิจการงานทั้งหลาย (ขึ้นอยู่) กับการเจตนา และแท้จริง สำหรับทุกคนนั้น (คือ) สิ่งที่เขาได้มีเจตนาไว้ ดังนั้น ผู้ใดซึ่งการอพยพของเขา (มีเจตนาเพื่อ) สู่อัลลอฮฺและร่อซูลของพระองค์ ดังนั้น การอพยพของเขานั้นไปสู่ (ความพึงพอพระทัยต่อ) อัลลอฮฺและร่อซูลของพระองค์ และผู้ใดซึ่งการอพยพของเขาเพื่อโลก (ทรัพย์สมบัติเงินทองหรือเพื่อความสุขทางโลกอย่างเดียว) หรือเพื่อผู้หญิงที่เขาจะแต่งงานด้วย ดังนั้น การอพยพของเขานั้นไปสู่ที่เขาเป้าหมายไว้”
- 1781 views
หะดีษที่ 1/1 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา
หะดีษที่ 1/1 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา dp6admin Fri, 25/09/2009 - 15:23- 511 views
หะดีษที่ 1/2 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา (จบ)
หะดีษที่ 1/2 กิจการงานทั้งหลายขึ้นกับเจตนา (จบ) dp6admin Fri, 25/09/2009 - 15:25- 333 views
หะดีษที่ 2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน วันกิยามะฮฺ (7)
หะดีษที่ 2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน วันกิยามะฮฺ (7)อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม หะดีษที่สอง (ภาคที่ 1)
บ้านทองทา บางกอกน้อย วันพฤหัสที่ 26 มิ.ย. 51
الحديث الثاني الجزء الأول
عَنْ عُمَرَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ أَيْضاً قَالَ : بَيْنَمَا نَحْنُ جُلُوْسٌ عِنْدَ رَسُوْلِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ذَاتَ يَوْمٍ ، إِذْ طَلَعَ عَلَيْنَا رَجُلٌ شَدِيْدُ بَيَاضِ الثِّيَابَ ، شَدِيْدُ سَوَادِ الشَّعْرِ، لاَ يُرَى عَلَيْهِ أَثَرُ السَّفَرِ ، وَلاَ يَعْرِفُهُ مِنَّا أَحَدٌ ، حَتَّى جَلَسَ إِلَى النَّبِيِّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ ، فَأَسْنَدَ رُكْبَتَيْهِ إِلَى رُكْبَتَيْهِ ، وَوَضَعَ كَفَّيْهِ عَلَى فَخِذَيْهِ ، وَقَالَ : يَامُحَمَّدُ ، أَخْبِرْنِي عَنِ الإِسْلاَمِ . فَقَالَ رَسُوْلُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : (( الإِسْلاَمُ أَنْ تَشْهَدَ أَنْ لاَإِلهَ إِلاَّاللهُ وَأَنَّ مُحَمَّدًا رَسُوْلُ اللهِ ،وَتُقِيْمَ الصَّلاَةَ ، وَتُؤْتِيَ الزَّكَاةَ ، وَتَصُومَ رَمَضَانَ ، وَتَحُجَّ الْبَيْتَ إِن اسْتَطَعْتَ إِلَيْهِ سَبِيْلاً )) قَالَ : صَدَقْتَ . فَعَجِبْنَا لَهُ يَسْأَلُهُ وَيُصَدِّقُهُ . قَالَ : فَأَخْبِرْنِي عَنِ الإِيْمَانِ . قَالَ : (( أَنْ تُؤْمِنَ بِاللهِ ، وَمَلاَئِكَتِهِ ،وَكُتُبِهِ ، وَرُسُلِهِ ، وَالْيَوْمِ الآخِرِ ، وَتُؤْمِنَ بِالقَدَرِ خَيْرِهِ وَشَرِّهِ )) قَالَ : صَدَقْتَ. قَالَ : فَأَخْبِرْنِي عَنِ الإِحْسَانِ . قَالَ : (( أَنْ تَعْبُدَ الله كَأَنَّكَ تَرَاهُ ، فَإِنْ لَمْ تَكُنْ تَرَاهُ فَإِنَّهُ يَرَاكَ ))قَالَ : فَأَخْبِرْنِي عَنِ السَّاعَةِ . قَالَ : (( مَا الْمَسْؤُوْلُ عَنْهَا بِأَعْلَمَ مِنَ السَّائِلِ )) قَالَ : فَأَخْبِرْنِي عَنْ أَمَارَاتِهَا. قَالَ : (( أَنْ تَلِدَ الأَمَةُ رَبَّتَهَا ، وَأَنْ تَرَى الْحُفَاةَ الْعُرَاةَ الْعَالَةَ رِعَاءَ الشَّاءِ يَتَطَاوَلُونَ فِي الْبُنْيَانِ ))ثُمَّ انْطَلَقَ فَلَبِثْتُ مَلِّيًا ثُمَّ قَالَ : (( يَاعُمَرُ أَتَدْرِي مَنِ السَّائِلُ ؟ )) قُلْتُ : اللهُ وَرَسُوْلُهُ أَعْلَمُ . قَالَ : (( فَإِنَّهُ جِبْرِيْلُ أَتَاكُمْ يُعَلِّمُكُمْ دِيْنَكُمْ)) رَوَاهُ مُسْلِمٌ.
จากท่านอุมัร กล่าวว่า :
วันหนึ่ง ขณะที่พวกเรานั่งกับท่านร่อซูลุลลอฮฺนั้น เราได้เห็นบุรุษผู้หนึ่งซึ่งแต่งกายด้วยเครื่องแต่งกายที่ขาวมากและผมดำสนิท ไม่เห็นมีร่องรอยของการเดินทางและไม่มีผู้ใดเลยในพวกเราที่รู้จักเขา เขาได้เข้ามานั่งใกล้ท่านนบี โดยหัวเข่าของเขาชนกับหัวเข่าของท่านนบี และเขาวางมือของเขาบนขาอ่อนของท่านนบี
แล้วกล่าวว่า “โอ้มุฮัมมัด จงแจ้งฉันเกี่ยวกับอิสลาม” ท่านร่อซูลุลลอฮฺกล่าวว่า “อิสลามนั้นคือ ท่านต้องยืนยันว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และยืนยันว่ามุฮัมมัดเป็นร่อซูล (ศาสนทูต) ของอัลลอฮฺ ท่านต้องดำรงการละหมาด ท่าน ต้องบริจาคซะกาต ท่านต้องถือศีลอดในเดือนรอมฎอน ท่านต้องไปบำเพ็ญฮัจย์ยังบัยตุลลอฮฺ ถ้าท่านสามารถปฏิบัติตามทางนั้นได้” เขากล่าวว่า “ถูกต้อง” พวกเราแปลกใจที่เขาถามแล้วเขายอมรับว่าถูกต้อง
เขากล่าวอีกว่า “ดังนั้น จงแจ้งให้ฉันทราบเกี่ยวกับอีมาน (ความศรัทธา)” ท่านนบี ตอบว่า “(การศรัทธานั้นคือ) ท่านต้องศรัทธาต่อ อัลลอฮฺ มะลาอิกะฮฺของพระองค์ บรรดาคัมภีร์ของพระองค์ บรรดาร่อซูลของพระองค์ วันสุดท้าย และท่านต้องเชื่อในกฎกำหนดสภาวะ ทั้งความดีของมันและความไม่ดีของมัน” เขากล่าวว่า “ถูกต้อง”
แล้วเขาถามว่า “ดังนั้น จงชี้แจงเกี่ยวกับอิหฺซาน" ท่านนบี ตอบว่า “ท่านต้องภักดี (ทำการอิบาดะฮฺ) ต่ออัลลอฮฺเสมือนท่านเห็นพระองค์ แม้นว่าท่านไม่เห็นพระองค์ แต่แท้จริงพระองค์ทรงเห็นท่าน” คนนั้นถามอีกว่า “ดังนั้น จงแจ้งแก่ฉันเกี่ยวกับวันกิยามะฮฺ” ท่านนบี ตอบว่า “ผู้ที่ถูกถามเกี่ยวกับวัน (กิยามะฮฺ) นั้นรู้ไม่มากกว่าผู้ถามเอง”
คนนั้นถามต่ออีกว่า “ถ้าดังนั้น จงแจ้งให้ฉันทราบเกี่ยวกับสัญญาณของมัน” ท่านนบี ตอบว่า “ส่วนหนึ่งก็คือทาสหญิงคลอดลูกเป็นนายของนาง ท่านจะได้เห็นผู้คนซึ่งแต่ก่อนนี้ยากจนขัดสน สวมเสื้อผ้าขาด ๆ เป็นผู้เลี้ยงแพะ ได้กลายเป็นผู้มีความสามารถจนสร้างตึกได้” หลังจากนั้น คนนั้นก็จากไป
ฉันนิ่งเงียบอยู่ครู่หนึ่ง แล้วท่านนบี ถามฉันว่า “โอ้อุมัร ท่านรู้ไหมว่าคนที่ (มา) ถาม (เมื่อกี้) เป็นใคร?” ฉันตอบว่า “อัลลอฮฺและร่อซูลของพระองค์เท่านั้นที่ทราบเรื่องนี้” แล้วท่านนบี ก็บอกว่า “แท้จริง เขาคือญิบรีล เขามายังท่านเพื่อสอนแก่ท่านซึ่งศาสนาของท่าน"” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
- 740 views
หะดีษที่ 2/1 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลาม)
หะดีษที่ 2/1 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลาม) dp6admin Fri, 25/09/2009 - 15:28- 303 views
หะดีษที่ 2/2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อีมาน)
หะดีษที่ 2/2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อีมาน) dp6admin Fri, 25/09/2009 - 15:32- 117 views
หะดีษที่ 2/3 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลามและอีมาน)
หะดีษที่ 2/3 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลามและอีมาน) dp6admin Wed, 28/11/2018 - 21:34- 115 views
หะดีษที่ 2/4 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลามและอีมาน)
หะดีษที่ 2/4 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อิสลามและอีมาน) dp6admin Wed, 28/11/2018 - 21:37- 88 views
หะดีษที่ 2/6 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อีมาน)
หะดีษที่ 2/6 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อีมาน) dp6admin Wed, 28/11/2018 - 21:55- 93 views
หะดีษที่ 2/6 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อัลอิหฺซาน 1)
หะดีษที่ 2/6 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อัลอิหฺซาน 1) dp6admin Wed, 28/11/2018 - 22:59- 79 views
หะดีษที่ 2/7 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อัลอิหฺซาน 2, วันกิยามะฮฺเมื่อไหร่,สัญญาณกิยามะฮฺ)//จบ//
หะดีษที่ 2/7 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (อัลอิหฺซาน 2, วันกิยามะฮฺเมื่อไหร่,สัญญาณกิยามะฮฺ)//จบ// dp6admin Thu, 29/11/2018 - 09:37- 157 views
หะดีษที่ 2 ภาค 2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสารประกอบการบรรยาย)
หะดีษที่ 2 ภาค 2 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสารประกอบการบรรยาย)อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
หะดีษที่สอง (ภาคที่ 2)
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันพฤหัสที่ 3 กรกฎาคม 51
الإيمان هو الاعتقادات الباطنة
อีมานคือความเชื่อภายใน
• وأما الإيمانُ ، فقد فسَّره النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - في هذا الحديث بالاعتقادات الباطِنَة.
• ที่ระบุในอัลกุรอานมีห้าประการ وقد ذكرَ الله في كتابه الإيمانَ بهذه الأصولِ الخمسةِ في مواضع ، كقوله تعالى : { آمَنَ الرَّسُولُ بِمَا أُنْزِلَ إِلَيْهِ مِنْ رَبِّهِ وَالْمُؤْمِنُونَ كُلٌّ آمَنَ بِاللهِ وَمَلائِكَتِهِ وَكُتُبِهِ وَرُسُلِهِ لا نُفَرِّقُ بَيْنَ أَحَدٍ مِنْ رُسُلِهِ } . وقال تعالى : { وَلَكِنَّ الْبِرَّ مَنْ آمَنَ بِاللهِ وَالْيَوْمِ الآخِرِ وَالْمَلائِكَةِ وَالْكِتَابِ وَالنَّبِيِّينَ}.
• والإيمان بالرُّسُل يلزمُ منهُ الإيمانُ بجميع ما أخبرُوا به من المَلائكةِ ، والأنبياء ، والكتابِ ، والبعثِ ، والقدرِ، وغير ذلك من تفاصيل ما أخبروا به مِنْ صفات الله تعالى وصفات اليوم الآخر ، كالميزانِ والصراطِ ، والجنَّةِ ، والنَّار .
• وقد أُدخِلَ في هذه الآيات الإيمانُ بالقدرِ خيرِه وشرِّه ، ولأجلِ هذه الكلمةِ روى ابنُ عمر هذا الحديث محتجّاً به على مَنْ أنكَرَ القدرَ ، وزعمَ أنَّ الأمرَ أنفٌ : يعني أنّه مستأَنَفٌ لم يسبق به سابقُ قدرٍ مِنَ اللهِ عز وجل ، وقد غلَّظ ابنُ عمرَ عليهم ، وتبرّأ منهم ، وأخبرَ أنّه لا تُقبلُ منهم أعمالُهم بدونِ الإيمانِ بالقدر . .
พระประสงค์ของอัลลอฮฺมี 2 ประเภท
والإيمانُ بالقدرِ على درجتين
อีมานต่อกอฎออฺกอดัรมี 2 ระดับ
• إحداهما : الإيمان بأنَّ الله تعالى سبقَ في علمه ما يَعمَلُهُ العبادُ من خَيرٍ وشرٍّ وطاعةٍ ومعصيةٍ قبلَ خلقهِم وإيجادهم، ومَنْ هُو منهم مِنْ أهلِ الجنَّةِ، ومِنْ أهلِ النَّارِ، وأعدَّ لهُم الثَّوابَ والعقابَ جزاءً لأعمالهم قبل خلقِهم وتكوينهم ، وأنَّه كتبَ ذلك عندَه وأحصاهُ ، وأنَّ أعمالَ العباد تجري على ما سبق في علمه وكتابه.
• والدرجةُ الثانية : أنَّ الله تعالى خلقَ أفعالَ عبادِهِ كلَّها مِنَ الكُفر والإيمانِ والطاعةِ والعصيانِ وشاءها منهم ، فهذه الدَّرجةُ يُثبِتُها أهلُ السُّنَّةِ والجماعةِ ، ويُنكرها القدريةُ ، والدرجةُ الأولى أثبتها كثيرٌ مِنَ القدريَّةِ ، ونفاها غُلاتُهم ، كمعبدٍ الجُهنيِّ ، الذي سُئِل ابنُ عمرَ عنْ مقالتِهِ ، وكعمرو بن عُبيدٍ وغيره .
• وقد قال كثيرٌ من أئمة السّلفِ : ناظرُوا القدريَّةَ بالعلمِ ، فإنْ أقرُّوا به خُصِمُوا ، وإنْ جحدوه ، فقد كفروا ، يريدونَ أنَّ مَنْ أنكَرَ العلمَ القديمَ السَّابِقَ بأفعالِ العبادِ ، وأنَّ الله قَسمهم قبلَ خلقِهم إلى شقيٍّ وسعيدٍ ، وكتبَ ذلك عندَه في كتابٍ حفيظٍ ، فقد كذَّب بالقُرآن ، فيكفُرُ بذلك ، وإنْ أقرُّوا بذلك ، وأنكروا أنَّ الله خلق أفعالَ عباده ، وشاءها ، وأرادها منهم إرادةً كونيةً قدريةً ، فقد خصمُوا ؛ لأنَّ ما أقرُّوا به حُجَّةٌ عليهم فيما أنكروه . وفي تكفير هؤلاءِ نزاعٌ مشهورٌ بينَ العُلماءِ.
• وأمّا من أنكرَ العلمَ القديمَ ، فنصَّ الشّافعيُّ وأحمدُ على تكفيرِهِ ، وكذلك غيرُهما مِنْ أئمةِ الإسلام
أهمية هذه المسائل
ความสำคัญของเรื่องนี้
(อิสลาม,อีมาน,กุฟรฺ,นิฟาก)
وهذه المسائلُ - أعني : مسائل الإسلامِ والإيمانِ والكُفرِ والنِّفاقِ - مسائلُ عظيمةٌ جداً، فإنَّ الله علَّق بهذه الأسماءِ السَّعادةَ، والشقاوةَ ، واستحقاقَ الجَنَّةِ والنَّار ، والاختلافُ في مسمّياتِها أوّلُ اختلافٍ وقعَ في هذه الأُمَّةِ ، وهو خلافُ الخوارجِ للصَّحابة ، حيثُ أخرجُوا عُصاةَ المُوحِّدينَ مِنَ الإسلام بالكُلِّيَّةِ ، وأدخلوهُم في دائرةِ الكُفر ، وعاملوهم معاملةَ الكُفَّارِ ، واستحلُّوا بذلكَ دماءَ المسلمين وأموالهم ، ثمَّ حدَث بعدَهم خلافُ المعتزلة وقولُهم بالمنْزلة بينَ المنْزلتين، ثمَّ حدثَ خلافُ المرجئةِ ، وقولُهم : إنَّ الفاسقَ مؤمنٌ كاملُ الإيمانِ .
إشكال
• فإنْ قيل : فقدْ فرَّق النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - في هذا الحديث بينَ الإسلام والإيمانِ ، وجعلَ الأعمالَ كلَّها من الإسلامِ ، لا مِنَ الإيمانِ ، والمشهورُ عنِ السَّلفِ وأهلِ الحديثِ أنَّ الإيمانَ : قولٌ وعملٌ ونيةٌ ، وأنَّ الأعمالَ كلَّها داخلةٌ في مُسمَّى الإيمانِ. وحكى الشافعيُّ على ذلك إجماعَ الصَّحابةِ والتَّابعين ومن بعدَهم ممَّن أدركهم.
• وأنكرَ السَّلفُ على مَنْ أخرجَ الأعمالَ عنِ الإيمانِ إنكاراً شديداً ، وممَّن أنكرَ ذلك على قائله، وجعلَه قولاً مُحدَثاً : سعيدُ بنُ جبيرٍ ، وميمونُ بنُ مِهرانَ ، وقتادةُ، وأيُّوبُ السَّختيانيُّ ، وإبراهيمُ النَّخعي، والزُّهريُّ ، ويحيى بنُ أبي كثيرٍ ، وغيرُهم . وقال الثَّوريُّ : هو رأيٌ محدَثٌ ، أدركنا الناس على غيره . وقال الأوزاعيُّ : كان مَنْ مضى ممَّن سلف لا يُفَرِّقون بين الإيمانوالعمل.
• وكتب عمرُ بنُ عبد العزيز إلى أهل الأمصارِ : أمَّا بعدُ ، فإنَّ للإيمانِ فرائضَ وشرائعَ وحدوداً وسنناً، فمن استكملَها ، استكملَ الإيمانَ ، ومن لم يَستكْمِلها ، لم يستكملِ الإيمانَ ، ذكره البخاري في " صحيحه.
دخول الأعمال في الإيمان
• قد دلّ على دُخول الأعمالِ في الإيمان قولُه تعالى : { إِنَّمَا الْمُؤْمِنُونَ الَّذِينَ إِذَا ذُكِرَ اللهُ وَجِلَتْ قُلُوبُهُمْ وَإِذَا تُلِيَتْ عَلَيْهِمْ آيَاتُهُ زَادَتْهُمْ إِيمَاناً وَعَلَى رَبِّهِمْ يَتَوَكَّلُونَ الَّذِينَ يُقِيمُونَ الصَّلاةَ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنْفِقُونَ أُولَئِكَ هُمُ الْمُؤْمِنُونَ حَقّاً } .
• وفي " الصحيحين " عنِ ابنِ عبّاسٍ : أنّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قال لوفدِ عبدِ القيسِ:(( آمركُم بأربعٍ : الإيمانِ بالله وحده ، وهل تدرونَ ما الإيمانُ بالله ؟ شهادةُ أنْ لا إله إلاّ الله ، وإقامِ الصّلاةِ ، وإيتاءِ الزكاةِ ، وصومِ رمضانَ ، وأنْ تُعطُوا من المَغنَمِ الخُمْسَ )) .
• وفي " الصحيحين " عن أبي هريرة - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - قال : (( الإيمانُ بِضعٌ وسَبعونَ ، أو بضعٌ وستُّون شُعبة ، فأفضلُها : قولُ لا إله إلا الله ، وأدناها إماطةُ الأذى عن الطريق ، والحياءُ شُعبةٌ من الإيمان )) ولفظه لمسلم .
• وفي " الصحيحين " عن أبي هُريرة ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا يزني الزّاني حينَ يزني وهو مُؤمنٌ ، ولا يَسرقُ السّارق حين يسرق وهو مؤمنٌ ، ولا يشرب الخمر حينَ يشربها وهو مؤمنٌ )) فلولا أنَّ تركَ هذه الكَبَائِرَ مِنْ مُسمَّى الإيمان لما انتفى اسمُ الإيمانِ عن مرتكبِ شيءٍ منها ؛ لأنَّ الاسمَ لا ينتفى إلاَّ بانتفاءِ بعض أركانِ المسمّى ، أو واجباتِه.
إذا اجتمعا افترقا وإذا افترقا اجتمعا
• وأما وجهُ الجمعِ بينَ هذه النُّصوص فإنَّه يتضح بتقريرِ أصلٍ أن بعض الأسماء إذا اجتمعت افترقت وإذا افترقت اجتمعت مثل الإسلام والإيمان والفقير والمسكين .
• وقد صرَّح بهذا المعنى جماعةٌ مِنَ الأئمّةِ مثل أبو بكر الإسماعيليُّ والخطابيُّ في كتابه " معالم السنن " ، وتَبِعَهُ عليه جماعةٌ من العُلَماء من بعده .
• ويدلُّ على صحَّةِ ذلك أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - فَسَّرَ الإيمانَ عند ذكرِه مفرداً في حديث وفد عبدِ القيسِ بما فسّر به الإسلامَ المقرونَ بالإيمانِ في حديثِ جبريلَ، وفسَّر في حديثٍ آخرَ الإسلامَ بما فسّر به الإيمانَ ، كما في " مسند الإمام أحمد " عن عمرو بن عَبسة ، قال : جاءَ رجلٌ إلى النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - فقال : يا رسول الله ، ما الإسلامُ ؟ قال : (( أنْ تُسْلِمَ قلبَكَ للهِ ، وأنْ يسلمَ المسلمونَ مِنْ لِسَانِكَ ويَدكَ )) ، قال : فأي الإسلام أفضلُ ؟ قال: (( الإيمان )) . قال: وما الإيمان ؟ قال : (( أنْ تُؤْمِنَ باللهِ ، وملائكته ، وكُتبهِ ، ورُسلِه ، والبعثِ بعدَ الموتِ )) . قال : فأيُّ الإيمانِ أفضلُ ؟ قال : (( الهِجْرَةُ )) . قال : فما الهجرةُ ؟ قال : (( أن تَهجُر السُّوءَ )) ، قال : فأيُّ الهِجْرةِ أفضلُ ؟ قال : (( الجهاد )) . فجعل النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - الإيمانَ أفضلَ الإسلامِ ، وأدخلَ فيه الأعمالَ.
الإسلام العمل والإيمان تصديق القلب
• والتَّحقيق في الفرق بين الإيمان والإسلام إذا اجتمعا أنَّ الإيمانَ هو تصديقُ القلبِ ، وإقرارُهُ ، ومعرفته ، والإسلامُ : هو استسلامُ العبدِ للهِ ، وخُضُوعُه ، وانقيادهُ له ، وذلك يكونُ بالعملِ .
• وفي " مسند الإمام أحمد " عَنْ أنسٍ ، عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( الإسلامُ علانِيَةٌ ، والإيمانُ في القلبِ )) . وهذا لأنّ الأعمالَ تظهرُ علانيةً ، والتَّصديقُ في القلب لا يظهرُ . وكان النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - يقولُ في دعائه إذا صلّى على الميِّت : (( اللّهُمَّ مَنْ أحييتَهُ منّا فأحيهِ على الإسلامِ ، ومَن تَوفَّيتَهُ منّا فتوفَّه على الإيمان))؛ لأنَّ الأعمال بالجوارحِ إنَّما يُتَمكَّنُ منه في الحياةِ ، فأمّا عندَ الموتِ فلا يبقى غيرُ التَّصديق بالقلبِ .
• ومن هُنا قال المحقِّقون مِنَ العُلماءِ : كلُّ مُؤمِنٍ مُسلمٌ ، فإنَّ من حقَّق الإيمان ، ورسخ في قلبه، قام بأعمال الإسلام ، كما قال - صلى الله عليه وسلم - : (( ألا وإنَّ في الجَسَدِ مُضغةً ، إذا صَلحَتْ صَلَحَ الجسدُ كلُّه ، وإذا فَسَدتْ فسدَ الجَسَدُ كلُّه ، ألا وهي القَلبُ ، فلا يتحقَّقُ القلبُ بالإيمان إلاَّ وتنبعِثُ الجوارحُ في أعمالِ الإسلامِ ، وليس كلُّ مسلمٍ مؤمناً ، فإنَّه قد يكونُ الإيمانُ ضعيفاً ، فلا يتحقَّقُ القلبُ به تحقُّقاً تامّاً مع عمل جوارِحِه بأعمال الإسلام ، فيكون مسلماً ، وليس بمؤمنٍ الإيمانَ التَّامَّ ، كما قال تعالى : { قَالَتِ الأَعْرَابُ آمَنَّا قُلْ لَمْ تُؤْمِنُوا وَلَكِنْ قُولُوا أَسْلَمْنَا وَلَمَّا يَدْخُلِ الإيمَانُ فِي قُلُوبِكُمْ } ، ولم يكونوا مُنافقينَ بالكُلِّيةِ على أصحِّ التَّفسيرينِ، وهو قولُ ابنِ عبّاسٍ وغيره، بل كان إيمانُهم ضعيفاً ، ويدلُّ عليه قوله تعالى : { وَإِنْ تُطِيعُوا اللهَ وَرَسُولَهُ لا يَلِتْكُمْ مِنْ أَعْمَالِكُمْ شَيْئاً } ، يعني : لا ينقصُكم من أجورِها ، فدلَّ على أنَّ معهم من الإيمانِ ما تُقبَلُ به أعمالُهم .
نفي الإسلام والإيمان
• واسم الإيمان يُنفى عمّن تركَ شيئاً مِنْ واجباتِه ، كما في قوله - صلى الله عليه وسلم - : (( لا يزني الزاني حينَ يزني وهو مؤمنٌ)).وقد اختلف أهلُ السُّنَّة : هل يُسمَّى مؤمناً ناقصَ الإيمانِ ، أو يقال : ليس بمؤمنٍ ، لكنَّهُ مسلمٌ ، على قولين.
• وأمَّا اسمُ الإسلامِ، فلا ينتفي بانتفاءِ بعض واجباتِهِ ، أو انتهاكِ بعضِ محرَّماته ، وإنَّما يُنفى بالإتيانِ بما يُنافيه بالكُلِّيَّةِ ، ولا يُعرَفُ في شيءٍ من السُّنَّةِ الصَّحيحةِ نفيُ الإسلامِ عمَّن تركَ شيئاً من واجباتِهِ ، كما يُنفى الإيمانُ عمَّن تركَ شيئاً من واجباتِهِ ، وإنْ كان قد وردَ إطلاقُ الكُفرِ على فعلِ بعض المحرَّماتِ ، وإطلاقُ النِّفاقِ أيضاً .
الإسلام والإيمان داخل أحدهما في الآخر
• وخرَّج النَّسائيُّ مِنْ حديثِ عقبة بن مالك : أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - بعثَ سريّةً ، فغارت على قومٍ فقال رجلٌ منهم : إني مُسلمٌ ، فقتلهُ رجلٌ منَ السَّريَّةِ ، فنُمي الحديثُ إلى رسولِ اللهِ - صلى الله عليه وسلم - ، فقال فيه قولاً شديداً ، فقال الرجلُ : إنَّما قالها تعوُّذاً مِنَ القتل ، فقال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - : (( إنَّ الله أبى عليَّ أنْ أقتل مؤمناً )) ثلاث مرات.
• فلولا أنَّ الإسلام المطلق يدخُلُ فيه الإيمانُ والتَّصديقُ بالأصولِ الخمسةِ ، لم يَصِرْ مَنْ قالَ : أنا مسلمٌ مؤمناً بمجرَّدِ هذا القول ، وفي " سنن ابن ماجه " عن عديِّ بن حاتمٍ ، قال : قال لي رسول الله - صلى الله عليه وسلم - : ((يا عديُّ، أسلم تسلم )) ، قلت : وما الإسلام ؟ قال : (( تشهدُ أنْ لا إله إلا الله، وتشهدُ أنِّي رسولُ الله ، وتؤمن بالأقدارِ كلِّها ، خيرها وشرِّها ، حلوِها ومرِّها )) فهذا نصٌّ في أنَّ الإيمان بالقدر مِنَ الإسلامِ .
• وسُئِل ابنُ عمرَ : هل كانتِ الصحابةُ يضحكون ؟ فقال : نعم والإيمانُ في قلوبهم أمثالُ الجبالِ. فأينَ هذا ممّن الإيمان في قلبه يَزنُ ذرَّةً أو شعيرةً ؟! كالّذينَ يخرجونَ من أهلِ التّوحيد مِنَ النارِ ، فهؤلاء يصِحُّ أنْ يُقالَ : لم يدخُلِ الإيمانُ في قُلوبهم لضعفِه عندهم .
- 76 views
หะดีษที่ 2 ภาค 3 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสาร)
หะดีษที่ 2 ภาค 3 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสาร)بِسْمِ اللهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيْم
ชมรมอัซซุนนะฮฺ
อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
หะดีษที่สอง ภาคที่ 3
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม 51
دخول أعمال الجوارح الباطنة في مسمى الإسلام والإيمان
يدخل في أعمالِ الإسلامِ إخلاصُ الدِّين للهِ ، والنُّصحُ له ولعبادهِ ، وسلامةُ القلبِ لهم مِنَ الغِشِّ والحسدِ والحِقْدِ ، وتوابعُ ذلك مِنْ أنواع الأذى .
ويدخُلُ في مسمَّى الإيمانِ وجَلُ القُلوبِ مِنْ ذكرِ اللهِ ، وخشوعُها عندَ سماع ذكرِه وكتابه ، وزيادةُ الإيمانِ بذلك ، وتحقيقُ التوكُّل على اللهِ ، وخوفُ اللهِ سرَّاً وعلانيةً ، والرِّضا بالله ربّاً ، وبالإسلامِ ديناً ، وبمحمدٍ - صلى الله عليه وسلم - رسولاً ، واختيارُ تَلَفِ النُّفوسِ بأعظمِ أنواعِ الآلامِ على الكُفرِ ، واستشعارُ قُربِ الله مِنَ العَبدِ ، ودوامُ استحضارِهِ ، وإيثارُ محبَّةِ اللهِ ورسوله على محبّةِ ما سواهما ، والمحبةُ في الله والبُغضُ في الله ، والعطاءُ له ، والمنعُ له ، وأنْ يكونَ جميعُ الحركاتِ والسَّكناتِ له ، وسماحةُ النُّفوسِ بالطَّاعةِ الماليَّةِ والبدنيَّةِ ، والاستبشارُ بعملِ الحسّنات ، والفرحُ بها ، والمَساءةُ بعملِ السَّيئاتِ والحزنُ عليها ، وإيثارُ المؤمنينَ لرسول الله - صلى الله عليه وسلم - على أنفسهم وأموالهم ، وكثرةُ الحياءِ ، وحسنُ الخلقِ ، ومحبَّةُ ما يحبُّه لنفسه لإخوانه المؤمنين ، ومواساةُ المؤمنينَ ، خصوصاً الجيران ، ومعاضدةُ المؤمنين ، ومناصرتهم ، والحزنُ بما يُحزنُهم .
الأحاديث التي تفيد دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإسلام
• ففي " مسند الإمام أحمد "،و" النسائي " عن معاويةَ بنِ حَيْدَةَ ، قال : قلت : يا رسول الله ، أسألك بالذي بعثكَ بالحقِّ ، ما الذي بعثك به ؟ قال : (( الإسلام )) ، قلت : وما الإسلام ؟ قال : (( أنْ تُسلِمَ قلبَكَ لله ، وأنْ توجه وجهَك إلى الله ، وتُصلِّي الصلاةَ المكتوبة ، وتُؤدِّيَ الزكاة المفروضة )) ، وفي رواية له : قلت : وما آيةُ الإسلام ؟ قال : (( أنْ تقولَ : أسلمتُ وجهيَ للهِ ، وتخليتُ ، وتقيمَ الصلاةَ ، وتُؤتِي الزكاةَ ، وكلُّ مسلمٍ على مسلمٍ حرام)).
• وفي السُّنن عن جُبير بن مُطعم ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه قال في خُطبته بالخَيْفِ مِنْ مِنى : (( ثلاثٌ لا يُغِلُّ عليهنَّ قلبُ مسلم : إخلاصُ العمل لله ، ومُناصحةُ وُلاةِ الأمورِ، ولزومُ جماعةِ المسلمينَ، فإنّ دعوتَهُم تُحيطُ مِنْ ورائهم ))، فأخبرَ أنَّ هذه الثلاثَ الخصالَ تنفي الغِلَّ عَنْ قلبِ المسلم .
• وفي " الصَّحيحين " عن أبي موسى ، عَنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه سُئِلَ : أيُّ المسلمين أفضلُ ؟ فقال : (( مَنْ سلمَ المسلمونَ مِنْ لسانِهِ ويده )) .
• وفي " صحيح مسلم " عن أبي هريرة - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( المسلم أخو المسلم ، فلا يظلمُهُ ، ولا يخذُلُهُ ، ولا يحقرُه . بحسب امرىءٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يحْقِرَ أخاهُ المُسلمَ ، كلُّ المسلمِ على المُسلمِ حرامٌ : دمُه ، ومالهُ ،وعِرضهُ)).
دخول أعمال الجوارح الباطنة في اسم الإيمان
• { إِنَّمَا الْمُؤْمِنُونَ الَّذِينَ إِذَا ذُكِرَ اللهُ وَجِلَتْ قُلُوبُهُمْ وَإِذَا تُلِيَتْ عَلَيْهِمْ آيَاتُهُ زَادَتْهُمْ إِيمَاناً وَعَلَى رَبِّهِمْ يَتَوَكَّلُونَ الَّذِينَ يُقِيمُونَ الصَّلاةَ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنْفِقُونَ أُولَئِكَ هُمُ الْمُؤْمِنُونَ حَقّاً }، وقوله : { أَلَمْ يَأْنِ لِلَّذِينَ آمَنُوا أَنْ تَخْشَعَ قُلُوبُهُمْ لِذِكْرِ اللهِ وَمَا نَزَلَ مِنَ الْحَقِّ وَلا يَكُونُوا كَالَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَابَ مِنْ قَبْلُ فَطَالَ عَلَيْهِمُ الأَمَدُ فَقَسَتْ قُلُوبُهُمْ }. وقوله : { وَعَلَى اللهِ فَلْيَتَوَكَّلِ الْمُؤْمِنُونَ }، وقوله : { وَعَلَى اللهِ فَتَوَكَّلُوا إِنْ كُنْتُمْ مُؤْمِنِينَ }، وقوله : { وَخَافُونِ إِنْ كُنْتُمْ مُؤْمِنِينَ }.
• وفي " صحيح مسلم " عن العباس بن عبد المطَّلب ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال :(( ذاقَ طعم الإيمان مَنْ رضيَ بالله ربَّاً ، وبالإسلامِ ديناً ، وبمحمدٍ رسولاً )) .
• والرِّضا بربوبيَّة اللهِ يتضمَّنُ الرِّضا بعبادته وحدَه لا شريكَ له ، وبالرِّضا بتدبيره للعبد واختياره له . والرِّضا بالإسلام ديناً يقتضي اختياره على سائر الأديان . والرِّضا بمحمدٍ رسولاً يقتضي الرِّضا بجميع ما جاء به من عند الله ، وقبولِ ذلك بالتَّسليم والانشراحِ ، كما قال تعالى : { فَلا وَرَبِّكَ لا يُؤْمِنُونَ حَتَّى يُحَكِّمُوكَ فِيمَا شَجَرَ بَيْنَهُمْ ثُمَّ لا يَجِدُوا فِي أَنْفُسِهِمْ حَرَجاً مِمَّا قَضَيْتَ وَيُسَلِّمُوا تَسْلِيماً }.
• وفي " الصحيحين " عن أنسٍ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( ثلاثٌ مَنْ كُنَّ فيه وَجَدَ بهنَّ حلاوةَ الإيمان : مَنْ كَانَ الله ورسولُهُ أحبَّ إليه ممَّا سِواهما ، وأنْ يحبَّ المرءَ لا يحبُّه إلا للهِ ، وأنْ يكره أنْ يرجعَ إلى الكُفرِ بعدَ إذْ أنقذهُ الله منه كما يكرهُ أنْ يُلقى في النار)). وفي رواية : (( وجد بهنّ طعمَ الإيمانِ)) ، وفي بعض الرِّوايات : (( طعمَ الإيمانِ وحلاوتَه)).
من الأعمال الصالحة الداخلة في الإيمان
• وفي " الصحيحين عن أنسٍ ، عَنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا يؤمن أحدُكم حتّى أكونَ أحبَّ إليه من ولدِهِ ، ووالدهِ ، النَّاس أجمعينَ )) ، وفي رواية : (( مِنْ أهلهِ ، ومالهِ ، والنَّاس أجمعينَ)) .
• وفي " مسند الإمام أحمد "(عن أبي رزين العُقيليّ قال : قلتُ : يا رسول الله، ما الإيمانُ ؟ قال : (( أنْ تشهدَ أنْ لا إله إلاَّ الله وحدَه لا شريك له ، وأنَّ محمداً عبدُه ورسولُه ، وأنْ يكونَ الله ورسولُهُ أحبَّ إليكَ ممّا سواهُما ، وأنْ تحترِقَ في النار أحبُّ إليكَ مِنْ أنْ تُشركَ باللهِ شيئاً وأنْ تحبَّ غيرَ ذي نسبٍ لا تُحبُّهُ إلا لله ، فإذا كُنتَ كذلك ، فقد دخَلَ حبُّ الإيمانِ في قلبكَ كما دخلَ حبُّ الماءِ للظمآنِ في اليومِ القائظِ )) . قلت : يا رسول الله ، كيف لي بأنْ أعلمَ أنِّي مؤمنٌ ؟ قال : ما مِنْ أمَّتي - أو هذه الأُمَّة - عبدٌ يعملُ حسنةً ، فيعلم أنَّها حسنةٌ ، وأنَّ الله - عز وجل - جازيه بها خيراً ولا يعملُ سيِّئةً ، فيعلم أنَّها سيِّئةٌ ، ويستغفرُ الله منها ، ويعلمُ أنَّه لا يغفر الذنوب إلا الله ، إلا وهو مؤمنٌ)).
• وفي " المسند " وغيره عن عمرَ بن الخطاب - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ((1))، قال : (( مَنْ سرَّته حسنتُه ، وساءتْهُ سيِّئَتُه فهو مؤمنٌ )) . وفي " مُسندِ بقي بنِ مخلدٍ "عنْ رجلٍ سمعَ رسولَ اللهِ - صلى الله عليه وسلم - قال : (( صريحُ الإيمان إذا أسأتَ ، أو ظَلَمْتَ أحداً : عبدَكَ ، أو أَمَتَكَ ، أو أحداً مِنَ النّاسِ ، صُمتَ أو تَصَدَّقتَ ، وإذا أحسنتَ استبشرتَ )) .
• وفي " مُسند الإمام أحمد " عن أبي سعيدٍ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال: (( المؤمنونَ في الدُّنيا على ثلاثةِ أجزاء : الذين آمنوا باللهِ ورسولهِ ، ثم لم يَرتابُوا ، وجاهدوا بأموالهم وأنفسهم في سبيل الله ، والذي يأمنُهُ الناسُ على أموالهم وأنفسهم ، ثمّ الذي إذا أشرف على طمعٍ تركه لله - عز وجل - )) . وفيه أيضاً عن عمرو بن عبَسَة ، قال : قلت : يا رسول الله ، ما الإسلام ؟ قالَ : (( طيبُ الكلامِ ، وإطعامُ الطعام )) . قلت : ما الإيمانُ ؟ قال : (( الصبرُ والسَّماحةُ )) . قلت : أيُّ الإسلامِ أفضلُ ؟ قال : (( مَنْ سلمَ المُسلمونَ مِنْ لسانهِ ويدهِ )) . قلت : أيُّ الإيمانِ أفضلُ ؟ قال : (( خُلُقٌ حسنٌ )) .
الأخلاق من الإيمان
• وقد فسر الحسن البصريُّ الصبر والسماحةَ، فقال : هو الصَّبرُ عن محارمِ اللهِ - عز وجل -، والسَّماحةُ بأداءِ فرائضِ الله - عز وجل -. وفي " الترمذي عن عائشةَ - رضي الله عنها - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( أكملُ المؤمنين إيماناً أحسنُهُم خُلُقاً )) ، وخرّج البزار في " مسنده من حديث عبد اللهِ بنِ معاويةَ الغاضِري ، عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( ثلاثٌ مَنْ فعلهُنّ ، فقد طَعِمَ طعْمَ الإيمانِ : مَنْ عَبَدَ اللهَ وحدَهُ بأنّه لا إله إلا الله ، وأعطى زكاةَ ماله طيِّبَةً بها نفسُه في كلِّ عام )) وذكر الحديثَ ، وفي آخره : فقال رجلٌ : وما تزكيةُ المرءِ نفسَه يا رسولَ الله ؟ قال : أنْ يعلمَ أنَّ الله معه حيث كان )) .
• وخرّج الطَّبرانيُّ من حديث عُبَادة بنِ الصَّامِتِ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال :(( إنَّ أفضلَ الإيمانِ أنْ تعلمَ أنَّ الله معكَ حيثُ كنتَ )) .
• وفي " الصحيحين " عن عبد الله بنِ عمر ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( الحياءُ مِنَ الإيمانِ )) .
• وخرَّج الإمامُ أحمدُ، وابن ماجه مِنْ حديثِ العِرباضِ بنِ ساريةَ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : ((إنَّما المُؤمِن كالجملِ الأَنِفِ ، حيثما قِيدَ انقادَ )) .
• وقال الله - عز وجل - : { إِنَّمَا الْمُؤْمِنُونَ إِخْوَةٌ فَأَصْلِحُوا بَيْنَ أَخَوَيْكُمْ }.
التعاون من الإيمان
• وفي " الصحيحين " عَنِ النُّعمانِ بن بشيرٍ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( مثلُ المؤمنين في توادِّهم وتراحمهم وتعاطفهم وتراحمهم مَثَل الجسدِ ، إذا اشتكى منهُ عضوٌ ، تداعى له سائرُ الجسدِ بالحُمَّى والسَّهر )) . وفي روايةٍ لمسلم : ((المؤمنونَ كرجُلٍ واحدٍ )) . وفي " الصحيحين " عن أبي موسى ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( المؤمنُ للمؤمنِ كالبُنيانِ يَشُدُّ بعضُه بعضاً )) ، وشبَّك بين أَصابعِه .
• وفي " سنن أبي داود " عن أبي هريرة - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( المؤمنُ مرآةُ المؤمنِ ، المؤمنُ أخو المؤمن ، يكُفُّ عنه ضَيعَته ، ويحوطُه من ورائه)).
• وفي " الصحيحين عن أنسٍ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا يُؤْمِنُ أحدُكم حتى يحبَّ لأخيه ما يحبُّ لنفسه)) . وفي " صحيح البخاري " عن أبي شريحٍ الكعبيِّ ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال :
• (( والله لا يؤمنُ، والله لا يُؤمنُ ، والله لا يُؤمِنُ )) قالوا : مَنْ ذاك يا رسولَ اللهِ ؟! قال : (( مَنْ لا يأمَنُ جارُهُ بوائِقَهُ )) .
• وخرّج الحاكم من حديث ابنِ عباسٍ رضي الله عنهما ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم ، قال : (( ليسَ بمؤمنٍ مَنْ يَشبَعُ وجارُه جائعٌ )) .
الحب والبغض في الله من الإيمان
• وخرَّج الإمام أحمد والترمذيُّ من حديثِ سهلِ بنِ مُعاذٍ الجُهنيِّ ، عن أبيه ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( مَنْ أعطى للهِ ، ومنع للهِ ، وأحبَّ لله ، وأبغضَ لله )) زاد الإمام أحمد : (( وأنكحَ للهِ ، فقد استكمل إيمانَه )) . وفي روايةٍ للإمام أحمد : أنَّه سألَ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - عن أفضلِ الإيمانِ ، فقال: (( أنْ تُحبَّ لله ، وتُبغضَ لله ، وتُعمِلَ لِسانَكَ في ذكر الله )) ، فقال : وماذا يا رسول الله ؟ قال : (( أن تُحبَّ للنَّاس ما تحبُّ لنفسكَ ، وتكره لهمْ ما تكرهُ لنفسك )) ، وفي رواية له : (( وأنْ تقولَ خيراً أو تصمت )) .وفي هذا الحديث أنَّ كثرةَ ذكرِ اللهِ من أفضلِ الإيمانِ .
• وخرَّج أيضاً من حديث عمرو بن الجَموحِ - رضي الله عنه - : أنّه سمع النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - ، يقول : (( لا يستحقُّ العبدُ صريحَ الإيمانِ حتّى يحبَّ لله ، ويُبغضَ لله، فإذا أحبَّ للهِ، وأبغضَ لله ، فقد استحقَّ الولايةَ مِنَ الله تعالى )) .
• وقال ابن عبَّاس : أحِب في الله، وأبغِض في اللهِ ، ووالِ في اللهِ ، وعادِ في اللهِ ، فإنّما تُنالُ ولايةُ اللهِ بذلك ، ولن يَجِدَ عبدٌ طعمَ الإيمانِ - وإن كثُرَتْ صلاتُه وصومُه - حتّى يكونَ كذلك ، وقد صارَت عامَّةُ مُؤاخاة الناسِ على أمرِ الدُّنيا ، وذلك لا يُجدي على أهله شيئاً . خرَّجه محمد بنُ جريرٍ الطَّبريُّ، ومحمّدُ بنُ نصرٍ المروزي.
- 60 views
หะดีษที่ 2 ภาค 4 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสาร)
หะดีษที่ 2 ภาค 4 อิสลาม-อีมาน-อิหฺซาน (เอกสาร)بِسْمِ اللهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيْم
ชมรมอัซซุนนะฮฺ
อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
หะดีษที่สอง ภาคที่ 4
บ้านทองทา บางกอกน้อย
วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม 51
الإحسان
• وأمَّا الإحسّانُ ، فقد جاءَ ذكرُه في القُرآنِ في مواضعَ : تارةً مقروناً بالإيمانِ ، وتارةً مقروناً بالإسلامِ ، وتارةً مقروناً بالتَّقوى ، أو بالعمل .
• فالمقرونُ بالإيمانِ : كقولِه تعالى : ﴿ إِنَّ الَّذِينَ آمَنُوا وَعَمِلُوا الصَّالِحَاتِ إِنَّا لا نُضِيعُ أَجْرَ مَنْ أَحْسَنَ عَمَلاً ﴾
• والمقرونُ بالإسلام : كقوله تعالى : ﴿ بَلَى مَنْ أَسْلَمَ وَجْهَهُ للهِ وَهُوَ مُحْسِنٌ فَلَهُ أَجْرُهُ عِنْدَ رَبِّهِ ﴾
• والمقرون بالتقوى : كقوله تعالى : ﴿ إِنَّ اللهَ مَعَ الَّذِينَ اتَّقَوْا وَالَّذِينَ هُمْ مُحْسِنُونَ﴾،
جزاء المحسنين وحرمان الكافرين
• وقد يذكر الإحسان مفرداً كقوله تعالى : ﴿ لِلَّذِينَ أَحْسَنُوا الْحُسْنَى وَزِيَادَةٌ ﴾
• ، وقد ثبت في " صحيح مسلم " عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - تفسيرُ الزِّيادةِ بالنّظرِ إلى وجهِ الله - عز وجل - في الجنة ، وهذا مناسبٌ لجعلِه جزاءً لأهلِ الإحسّانِ ؛ لأنَّ الإحسانَ هو أنْ يَعبُدَ المؤمنُ ربّه في على وجهِ الحُضورِ والمُراقبةِ ،، فكانَ جزاءُ ذلك النَّظرَ إلى الله عياناً في الآخرة.
• وعكس هذا ما أخبرَ الله تعالى به عَنْ جَزاءِ الكُفَّار في الآخرةِ : ﴿ إِنَّهُمْ عَنْ رَبِّهِمْ يَوْمَئِذٍ لَمَحْجُوبُونَ ﴾، وجعلَ ذلك جزاءً لحالهم في الدُّنيا ، وهو تراكُم الرَّانِ على قُلوبِهم ، حتّى حُجِبَتْ عن معرفتِهِ ومُراقبته في الدُّنيا ، فكان جزاؤُهم على ذلك أنْ حُجِبوا عن رُؤيته في الآخرة.
فإنْ لم تكن تراه فإنَّه يراك
• قيل إنّه تعليلٌ للأوَّل ، فإنَّ العبدَ إذا أُمر بمراقبة الله في العبادة ، واستحضارِ قُربِهِ مِنْ عبده ، حتى كأنَّ العبدَ يراه ، فإنَّه قد يشقُّ ذلك عليه ، فيستعين على ذلك بإيمانه بأنّ الله يراه ، ويطَّلعُ على سرِّه وعلانيته وباطنه وظاهره ، ولا يخفى عليه شيءٌ من أمره ، فإذا حقَّق هذا المقامَ ، سهُل عليه الانتقالُ إلى المقام الثاني ، وهو دوامُ التَّحديق بالبصيرة إلى قُربِ الله من عبدِه ومعيَّته، حَتّى كأنَّه يراه .
• وقد فسَّر طائفةٌ من العُلماءِ المثل الأعلى المذكورَ في قوله - عز وجل - : ﴿ وَلَهُ الْمَثَلُ الأَعْلَى فِي السَّمَاوَاتِ وَالأَرْض ﴾ بهذا المعنى ، ومثلُهُ قولُه تعالى : ﴿ اللهُ نُورُ السَّمَاوَاتِ وَالأَرْضِ مَثَلُ نُورِهِ كَمِشْكَاةٍ فِيهَا مِصْبَاحٌ ﴾، والمراد : مثل نورِه في قلبِ المؤمن ، كذا قال أبيُّ بنُ كعبٍ وغيرُه مِنَ السَّلَف .
• القرب من ﴿وَإِذَا سَأَلَكَ عِبَادِي عَنِّي فَإِنِّي قَرِيبٌ أُجِيبُ دَعْوَةَ الدَّاعِ إِذَا دَعَانِ ﴾ وقد وردت الأحاديثُ الصَّحيحةُ بالنَّدب إلى استحضار هذا القُربِ في حال العباداتِ ، كقوله - صلى الله عليه وسلم - : (( إنَّ أحدَكم إذا قامَ يُصلِّي ، فإنَّما يُناجِي ربَّه ، أو ربَّه بينه وبينَ القبلةِ )) رواه البخاري. وقوله : (( يقولُ الله - عز وجل - : أنا مع ظنِّ عبدي بي ، وأنا معه حيث ذكرني ، فإن ذكرني في نفسه ، ذكرتُهُ في نفسي ، وإنْ ذكرني في ملأ ، ذكرته في ملأ خيرٍ منه ، وإنْ تقرّبَ منِّي شبراً ، تقرَّبتُ منه ذراعاً ، وإن تقرَّبَ منِّي ذراعاً ، تقرَّبتُ منه باعاً ، وإن أتاني يمشي ، أتيته هرولةً ))رواه البخاري.
• ومن وصل إلى استحضارِ هذا في حال ذكره الله وعبادته استأنسَ بالله ، واستوحش مِنْ خلقه ضرورةً .
• وقال أبو أسامة : دخلت على محمد بن النَّضر الحارثيِّ ، فرأيتُه كأنَّه منقبضٌ ، فقلت : كأنَّك تكره أنْ تُؤتى ؟ قال : أجل، فقلت : أوَما تستوحشُ ؟ فقال : كيف أستوحشُ وهو يقولُ : أنا جليسُ مَنْ ذكرني. وقال مسلم بنُ يسار : ما تلذَّذ المتلذِّذونَ بمثلِ الخَلْوةِ بمناجاةِ اللهِ - عز وجل -. وقال مسلم العابد : لولا الجماعة ، ما خرجتُ من بابي أبداً حتّى أموت
الاستئثار بعلم الساعة للحض على الزيادة
• فقول جبريل عليه السَّلام أخبرني عن السَّاعة ، فقال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - : (( ما المسئول عنها بأعلمَ من السَّائل )) يعني : أنَّ علم الخلق كلِّهم في وقتِ السَّاعة سواءٌ ، وهذه إشارةٌ إلى أنَّ الله تعالى استأثر بعلمها، ولهذا في حديث أبي هريرة: قال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - في خمسٍ لا يعلمهُنَّ إلاَّ الله تعالى ثم تلا : ﴿ إِنَّ اللهَ عِنْدَهُ عِلْمُ السَّاعَةِ وَيُنَزِّلُ الْغَيْثَ وَيَعْلَمُ مَا فِي الأَرْحَامِ وَمَا تَدْرِي نَفْسٌ مَاذَا تَكْسِبُ غَداً وَمَا تَدْرِي نَفْسٌ بِأَيِّ أَرْضٍ تَمُوتُ إِنَّ اللهَ عَلِيمٌ خَبِيرٌ﴾
أن تلد الأمة ربتها
• وقد ذكر النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - للسَّاعة علامتين :
• الأولى : (( أنْ تلد الأمة ربَّتها)) ، والمراد بربَّتها سيِّدتُها ومالكتها ،، وهذه إشارةٌ إلى فتح البلاد ، وكثرة جلبِ الرَّقيق حتى تكثر السَّراري ، ويكثر أولادهن ، فتكون الأُم رقيقةً لسيِّدها وأولاده منها بمنْزلته ، فإنَّ ولدَ السيد بمنْزلة السيد ، فيصير ولد الأمة بمنْزلة ربها وسيدها. وذكر الخطابي أنَّه استدلَّ بذلك من يقول : إنَّ أمَّ الولدِ إنَّما تعتق على ولدها من نصيبه من ميراث والده ، وإنَّها تنتقل إلى أولادها بالميراث ، فتعتق عليهم ، وإنَّها قبل موت سيدها تُباع ، قال : وفي هذا الاستدلال نظر .قلت : قد استدل به بعضُهم على عكس ذلك ، وعلى أنَّ أمَّ الولد لا تُباع ، وأنَّها تعتق بموتِ سيِّدها بكل حال ؛ لأنَّه جعل ولد الأمَة ربها ، فكأن ولدها هو الذي أعتقها فصار عتقها منسوباً إليه ؛ لأنَّه سببُ عتقها ، فصار كأنَّه مولاها. وهذا كما روي عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنَّه قال في أمِّ ولده ماريَّةَ لمَّا ولدت إبراهيمَ - عليه السلام - : (( أعتقها ولدُها ))
ترؤّس الأسافل
• والعلامة الثانية : (( أنْ ترى الحُفاة العُراة العالة )) والمراد بالعالة : الفُقراء ، وقوله : (( رعاء الشاء يتطاولون في البُنيان )) . هكذا في حديث عمر ، والمراد أنَّ أسافلَ الناس يصيرون رؤساءهم ، وتكثر أموالهم حتّى يتباهون بطول البنيان وزخرفته وإتقانه .
• وفي هذا المعنى أحاديث متعددة ، فخرَّج الإمام أحمد والترمذي من حديث حذيفة ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا تقومُ السَّاعة حَتّى يكونَ أسعدُ النَّاسِ بالدُّنيا لكع بن لكع )) .
• وخرّج الإمام أحمد والطبراني من حديث أنس ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( بينَ يدي الساعةِ سنُونَ خدَّاعةٌ ، يُتَّهمُ فيها الأمينُ ، ويُؤْتَمنُ فيها المتَّهمُ ، وينطق فيها الرُّويبضةُ )) . قالوا : وما الرويبضَةُ ؟ قال : ((السَّفيه ينطق في أمرِ العامَّة )) . وفي رواية : (( الفاسقُ يتكلَّمُ في أمر العامة )).
انقلاب الحقائق والأحوال
ومضمونُ ما ذكر من أشراطِ الساعة في هذا الحديث يَرجِعُ إلى أنَّ الأمور تُوَسَّدُ إلى غير أهلها ، كما قال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - لمن سأله عن الساعة : إذا وُسِّدَ الأمر إلى غير أهله فانتظر الساعة . رواه البخاري ، فإنَّه إذا صار الحفاةُ العراةُ رعاءُ الشاءِ - وهم أهلُ الجهل والجفاء - رؤوسَ الناس انعكست سائرُ الأحوال ، فصُدِّقَ الكاذبُ ، وكُذِّبَ الصادقُ ، وائتُمِنَ الخائنُ، وخوِّنَ الأمينُ، وتكلَّمَ الجاهلُ ، وسكتَ العالم ، أو عُدِمَ بالكلية ، كما صحَّ عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - أنه قال : (( إنّ من أشراط الساعة أن يُرفَعَ العلمُ ، ويظهر الجهلُ ))رواه البخاري وأخبر : (( أنَّه يقبضُ العلمُ بقبض العلماء، حتى إذا لم يبق عالم، اتخذ الناس رؤوساً جهالاً ، فسُئِلوا فأفتوا بغير علم ، فضلوا وأضلوا ))رواه البخاري . وقال الشَّعبي : لا تقومُ السَّاعة حتى يصيرَ العلمُ جهلاً ، والجهلُ علماً . وفي مستدرك الحاكم وصححه عن عبد الله بن عمرو مرفوعاً : (( إن من أشراط الساعة أن يُوضع الأخيارُ ، ويُرفع الأشرارُ )) . وهذا كله من انقلاب الحقائق في آخر الزمان وانعكاس الأمور .
يتطاولون في البنيان
• وفي قوله : (( يتطاولون في البنيان )) دليلٌ على ذمِّ التباهي والتفاخر ، خصوصاً بالتطاول في البنيان ، ولم يكن إطالة البناء معروفاً في زمن النَّبيّ - صلى الله عليه وسلم - وأصحابه ، بل كان بنيانهم قصيراً بقدر الحاجة، وروى أبو الزناد ، عن الأعرج ، عن أبي هريرة ، قال : قال رسول الله - صلى الله عليه وسلم - : (( لا تقومُ الساعةُ ، حتَّى يتطاول الناسُ في البنيان )) . خرَّجه البخاري.
• وقال حريثُ بن السائب ، عن الحسن : كنتُ أدخلُ بيوتَ أزواج النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - في خلافة عثمان - رضي الله عنه - فأتناولُ سقفَها بيدي. رواه البخاري في الأدب المفرد .
• وخرّج ابن ماجه من حديث أنس ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا تقومُ الساعةُ حتّى يتباهى الناسُ في المساجد )) . وهو حديث صحيح .
أهمية حديث عمر بن الخطاب
• فمن تأمَّل ما أشرنا إليه ممَّا دلَّ عليه هذا الحديثُ العظيم ، علم أنَّ جميعَ العُلوم والمعارف ترجعُ إلى هذا الحديث وتدخل تحته ، وأنَّ جميع العلماء من فِرَقِ هذه الأمَّة لا تخرجُ علومهم التي يتكلَّمون فيها عن هذا الحديث، وما دلَّ عليه مجمَلاً ومفصَّلاً ففي هذا الحديث وحدَه كفايةٌ ، وللهِ الحمدُ والمنَّةُ
- 43 views
หะดีษที่ 3 อิสลามถูกสร้างบนห้าหลัก (2)
หะดีษที่ 3 อิสลามถูกสร้างบนห้าหลัก (2)ชมรมอัซซุนนะฮฺ
อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม หะดีษที่ 3
บ้านทองทา บางกอกน้อย | วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 51
َالحدِيْثُ الـثّـَا لِثُ
عَنْ أَبِي عَبْدِالرَّحْمنِ عَبْدِ اللهِ بْنِ عُمَرَ بْنِ الْخَطَّابِ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا قَالَ : سَمِعْتُ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يَقُوْلُ :
(( بُنِيَ الإِسْلاَمُ عَلَى خَمْسٍ : شَهَادَةِ أَنْ لاَ إِلهَ إِلاَّ اللهُ وَأَنَّ مُحَمَّدًا وَسُوْلُ اللهِ ، وَإِقَامِ الصَّلاَةِ ، وَإِيْتَاءِ الزَّكَاةِ ، وَحَجِّ الْبَيْتِ ، وَصَوْمِ رَمَضَانَ ))
رَوَاهُ الْبُخَاريُّ وَمُسْلِمٌ .
จากอบูอับดุรเราะหฺมาน (อับดุลลอฮฺ บุตรของอุมัร บิน อัล-ค็อฏฏ๊อบ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า
“อิสลามถูกสร้างบน 5 หลัก คือ ปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และมุฮัมมัดนั้นคือร่อซูล (ศาสนทูต / ผู้สื่อ) แห่งอัลลอฮฺ, ดำรงการละหมาด (เศาะลาฮฺ), จ่ายซะกาฮฺ, บำเพ็ญฮัจญฺ ณ บัยตุลลอฮฺ, ถือศีลอด (เศาว์ม) ในเดือนรอมฎอน” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม
- حكم تارك الصلاة - หุกุ่มของการทิ้งละหมาด
- حكم تارك الزكاة والصوم والحج - หุกุ่มของผู้ที่ทิ้งซะกาต ศีลอด ฮัจญฺ (เช่นเดียวกับผู้ทิ้งละหมาดไหม)
- الأركان مرتبطة ببعضها - ห้ารุกุ่นนี้เกี่ยวพันกัน (เกี่ยวข้องประสานกัน อยู่ด้วยกัน)
- حديث ابن عمر دليل على عدم زوال اسم الإيمان بزوال بعض الأعمال - หะดีษนี้จะถูกหยิบบกมาใช้ในการอ้างอิงเมื่อมีความขัดแย้งขั้นรุนแรงระหว่างนักวิชาการ คือประเด็นที่เกี่ยวกับการตัดสินบุคคลที่ละเว้นการปฏิบัติความดีบางประการ, คนที่ไม่ทำความดี ไม่ทำความชั่ว เป็นคนชั่วไหม ?
- هل الجهاد من أركان الإسلام ؟ - จิฮาดเป็นรุกุ่นอีมานหรือไม่ ?
- 685 views
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 10 (หะดีษที่ 3/1)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 10 (หะดีษที่ 3/1) dp6admin Thu, 29/11/2018 - 07:50- 174 views
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 11 (หะดีษที่ 3/2 จบ)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 11 (หะดีษที่ 3/2 จบ) dp6admin Thu, 29/11/2018 - 09:25- 101 views
หะดีษที่ 4 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน (3)
หะดีษที่ 4 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน (3)ชมรมอัซซุนนะฮฺ
อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม 51
عَنْ أَبِي عَبْدِ الرَّحْمنِ عَبْدِ اللهِ بْنِ مَسْعُودٍ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ قَالَ : حَدَّثَنَا رَسُوْلُ الله صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَهُوَالصَّادِقُ الْمَصْدُوْقُ :
จากอบูอับดุรเราะหฺมาน (อับดุลลอฮฺ บินมัสอู๊ด) กล่าวว่า : ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ซึ่งท่านพูดความจริงเสมอและได้รับการยอมรับเสมอ กล่าวว่า
(( إِنَّ أَحَدَكُمْ يُجْمَعُ خَلْقُهُ فِي بَطْنِ أُمِّهِ أَرْبَعِيْنَ يَوْمًا نُطْفَةً ، ثُمَّ يَكُونُ عَلَقَةً مِثْلَ ذَلِكَ ، ثُمَّ يَكُونُ مُضْغَةً مِثْلَ ذَلِكَ ، ثُمَّ يُرْسَلُ إِلَيْهِ الْمَلَكُ فَيَنْفُخُ فِيْهِ الرُّوحَ وَيُؤْمَرُ بِأَرْبَعِ كَلِمَاتٍ : بِكَتْبِ رِزْقِهِ ، وَأَجَلِهِ ، وَعَمَلِهِ ، وَشَقِيٌّ أَوْسَعِيْدٌ .
แท้จริง ทุกๆ คนในหมู่พวกท่านได้ถูกรวบรวมในการสร้างเขาในมดลูกของแม่เป็นเวลา 40 วัน ในรูปของนุฏฟะฮฺ (น้ำข้น ๆ) หลังจากนั้นกลายเป็นเลือดก้อนหนึ่งในช่วงเวลาเดียวกัน หลังจากนั้นกลายเป็นเนื้อก้อนหนึ่งในช่วงเวลานั้นเช่นกัน
แล้วมะลาอิกะฮฺก็ถูกส่งมายังเขา ดังนั้นมะลาอิกะฮฺก็ได้เป่าวิญญาณ (รูหฺ) และได้ถูกส่ง (ถูกกำหนด) 4 คำด้วยกันคือ กำหนดปัจจัยยังชีพของเขา อายุของเขา กิจการงานของเขา กำหนดว่าเป็นชาวสวรรค์หรือชาวนรก
فَوَاللهِ الَّذِيْ لاَإِلَهَ غَيْرُهُ ، إِنَّ أَحَدَكُمْ لَيَعْمَلُ بِعَمَلِ أَهْلِ الْجَنَّةِ ، حَتَّى مَا يَكُونَ بَيْنَهُ وَ بَيْنَهَا إِلاَّذِرَاعٌ ، فَيَسْبِقُ عَلَيْهِ الْكِتَابُ فَيَعْمَلُ بِعَمَلِ أَهَْلِ النَّارِ فَيَدْخُلُهَا . وَإِنَّ أَحَدَكُمْ لَيَعْمَلُ بِعَمَلِ أَهْلِ النَّارِ ، حَتَّى مَايَكُونَ بَيْنَهُ وَبَيْنَهَا إِلاَّ ذِرَاعٌ ، فَيَسْبِقُ عَلَيْهِ الْكِتَابُ فَيَعْمَلُ بِعَمَلِ أَهْلِ الْجَنَّةِ فَيَدْخُلُهَا )) رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ .
ดังนั้น วัลลอฮิ พระผู้ซึ่งไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากพระองค์ แท้จริง คนหนึ่งคนใดในพวกท่านกระทำกิจการงานของชาวสวรรค์ จนถึงไม่มีอะไรอยู่ระหว่างเขากับสวรรค์นอกจากห่างกันแค่หนึ่งศอกเท่านั้น แต่แล้วได้ถูกกำหนดแก่เขา ดังนั้น เขาก็กระทำกิจการงานของชาวนรก ในที่สุดเขาก็เข้านรก
และแท้จริง คนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านกระทำกิจการงานของชาวนรกจนถึงไม่มีอะไรระหว่างเขากับนรกนอกจากห่างแค่หนึ่งศอกเท่านั้น แต่ได้ถูกกำหนดแก่เขาเป็นชาวสวรรค์ ดังนั้น (ก่อนตาย) เขาได้กระทำกิจการงานของชาวสวรรค์ ในที่สุดก็เข้าสวรรค์”(หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม)
- 451 views
หะดีษที่ 4/1 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 12)
หะดีษที่ 4/1 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 12) dp6admin Thu, 29/11/2018 - 09:52- 192 views
หะดีษที่ 4/2 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน,อัลกอฎออฺ วัลกอดัร (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 13)
หะดีษที่ 4/2 สี่คำที่ถูกกำหนดแก่มนุษย์ทุกคน,อัลกอฎออฺ วัลกอดัร (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 13) dp6admin Thu, 29/11/2018 - 10:46- 165 views
หะดีษที่ 4/3 ใครจะเป็นชาวสรรค์หรือชาวนรก,อัลกอฎออฺ วัลกอดัร (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 14)
หะดีษที่ 4/3 ใครจะเป็นชาวสรรค์หรือชาวนรก,อัลกอฎออฺ วัลกอดัร (ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม 14) dp6admin Thu, 29/11/2018 - 10:52- 132 views
หะดีษที่ 5 ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก (7)
หะดีษที่ 5 ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก (7)عَنْ أُمِّ الْمُؤْمِنِيْنَ أُمِّ عَبْدِاللهِ عَائِشَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهَا قَالَتْ : قَالَ رَسُوْلُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : مَنْ أَحْدَثَ فِي أَمْرِنَا هَذَا مَا لَيْسَ مِنْهُ فَهُوَ رَدٌّ .
رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ , وَفِي رِوَايَةٍ لِمُسْلِمٍ : مَنْ عَمِلَ عَمَلاً لَيْسَ عَلَيْهِ أَمْرُنَا فَهُوَ رَدٌّ .
จากมารดาแห่งศรัทธาชน อุมมุอับดุลลอฮฺ (ท่านหญิงอาอิชะฮฺ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ใดประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่งในกิจการ (ศาสนา) ของเรานี้ ซึ่งเราไม่ได้สั่ง ดังนั้น สิ่งนั้นถูกผลัก” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม ในบันทึกของมุสลิม มีสำนวนดังนี้ “ผู้ใดกระทำกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่งไม่มีระบุในคำสั่งของเรา ดังนั้นกิจการนั้นถูกผลัก”
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7
เอกสารประกอบการบรรยาย : ภาค 1 | ภาค 2 | ภาค 3
- 1634 views
หะดีษที่ 5/1 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก(โมฆะ)
หะดีษที่ 5/1 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก(โมฆะ) dp6admin Tue, 13/09/2022 - 17:43- 340 views
หะดีษที่ 5/2 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก(โมฆะ)
หะดีษที่ 5/2 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ถูกผลัก(โมฆะ) dp6admin Sun, 18/09/2022 - 19:25- 131 views
หะดีษที่ 5/3 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นถูกผลัก (สัญญาที่โมฆะ)
หะดีษที่ 5/3 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นถูกผลัก (สัญญาที่โมฆะ) dp6admin Sun, 08/09/2024 - 22:15- 22 views
หะดีษที่ 5/4 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (การค้าที่ต้องห้าม)
หะดีษที่ 5/4 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (การค้าที่ต้องห้าม) dp6admin Mon, 09/09/2024 - 19:57- 29 views
หะดีษที่ 5/5 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (แต่งงานและหย่า)
หะดีษที่ 5/5 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (แต่งงานและหย่า) dp6admin Wed, 11/09/2024 - 16:36หะดีษที่ 5/6 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (การหย่า)
หะดีษที่ 5/6 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (การหย่า) dp6admin Thu, 12/09/2024 - 14:19- 12 views
หะดีษที่ 5/7 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (วะกัฟและวะซียัต) - จบหะดีษ
หะดีษที่ 5/7 กิจการที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นโมฆะ (วะกัฟและวะซียัต) - จบหะดีษ dp6admin Tue, 10/09/2024 - 15:21- 53 views
หะดีษที่ 6 สิ่งที่หะล้าลนั้นชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน (9)
หะดีษที่ 6 สิ่งที่หะล้าลนั้นชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน (9)อธิบายอัลหะดีษ จากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
الْحَدِيْثُ السادس
عَنْ أَبِي عَبْدِ اللهِ النُّعْمَانِ بْنِ بَشِيْرٍ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا قَالَ : سَمِعْتُ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يَقُوْلُ : (( إِنَّ الْحَلاَلَ بَيِّنٌ ، وَإِنَّ الْحَرَامَ بَيِّنٌ ، وَبَيْنَهُمَا أُمُورٌ مُشْتَبِهَاتٌ لاَيَعْلَمُهُنَّ كَثِيْرٌ مِنَ النَّاسِ . فَمَن اتَّقَى الشُّبُهَاتِ فَقَد اسْتَبْرَأَ لِدِيْنِهِ وَعِرْضِهِ . وَمَنْ وَقَعَ فِي الشُّبُهَاتِ وَقَعَ فِي الْحِرَام ، كَالرَّاعِي يَرْعَى حَوْلَ الْحِمَى يُوشِكُ أَنْ يَرْتَعَ فِيهِ . أَلاَوَإِنَّ لِكُلِّ مَلِكٍ حِمًى ، أَلاَ وَإِنَّ حِمَى اللهِ مَحَارِمُهُ . أَلاَ وَإِنَّ فِي الْجَسَدِ مُضْغَةً ، إِذَا صَلَحَتْ صَلَحَ الْجَسَدُ كُلُّهُ ، وَإِذَا فَسَدَتْ فَسَدَ الْجَسَدُ كُلُّهُ ، أَلاَوَهِيَ الْقَلْبُ .)) رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ .
จากอบูอับดุลลอฮฺ (อัน-นุอฺมาน บินบะชีร) กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่าแท้จริง สิ่งที่อนุมัติ (หะล้าล) นั้นชัดแจ้ง สิ่งที่ต้องห้าม (หะรอม) ก็ชัดแจ้ง และในระหว่างทั้งสองสิ่งนั้น มีเรื่อง (หรือสิ่ง) ที่คลุมเครือ (ไม่ชัดแจ้ง) ซึ่งผู้คนส่วนมากไม่รู้ ดังนั้น ผู้ใดรักษาตัวเขาจากสิ่ง (หรือเรื่อง) ที่คลุมเครือนั้น เขาได้ชำระตัวเขาในการปกป้องศาสนาของเขาและเกียรติของเขา ส่วนที่ตกลงไปในการกระทำสิ่งที่คลุมเครือ เขาก็ได้ตกลงไปในเรื่องที่ต้องห้าม เช่นเดียวกับผู้ที่เลี้ยงปศุสัตว์รอบ ๆ ที่ดินที่ต้องห้าม (เช่น สวนของคนอื่น) ไม่ช้ามันก็จะเข้า (ไปกิน) ใน (สวน) นั้นจงจำไว้ว่า ผู้ปกครอง (กษัตริย์ ฯลฯ) ทุกคนมีขอบเขตที่ต้องห้าม จงจำไว้เถิดว่า ที่อัลลอฮฺทรงห้ามนั้น คือสิ่งที่พระองค์ไม่ทรงอนุมัติ จงจำไว้ว่า ในร่างกายนั้นมีเนื้อก้อนหนึ่ง เมื่อมันดี ร่างกายนั้นก็ดีด้วย แต่เมื่อมันเสีย ร่างกายก็จะเสียไปด้วย จงจำไว้ว่ามันคือ หัวใจ
หะดีษนี้บันทึกโดย บุคอรีย์และมุสลิม
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7 | ครั้งที่ 8 |ครั้งที่ 9
- 884 views
หะดีษที่ 6/1 สิ่งที่หะล้าลชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน
หะดีษที่ 6/1 สิ่งที่หะล้าลชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน dp6admin Fri, 11/10/2024 - 18:54- 27 views
หะดีษที่ 6/2 สิ่งที่หะล้าลชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน
หะดีษที่ 6/2 สิ่งที่หะล้าลชัดเจน สิ่งที่หะรอมก็ชัดเจน dp6admin Sat, 12/10/2024 - 12:01- 23 views
หะดีษที่ 6/3 สิ่งคลุมเครือ (มุชตะบิฮาต)
หะดีษที่ 6/3 สิ่งคลุมเครือ (มุชตะบิฮาต) dp6admin Sun, 13/10/2024 - 17:56- 31 views
หะดีษที่ 6/4 สิ่งคลุมเครือ (มุชตะบิฮาต,ชุบฮัต,ชุบุฮาต)
หะดีษที่ 6/4 สิ่งคลุมเครือ (มุชตะบิฮาต,ชุบฮัต,ชุบุฮาต) dp6admin Tue, 15/10/2024 - 16:06- 21 views
หะดีษที่ 6/5 ทรัพย์(รายด้)ที่ปะปน (หะล้าลกับหะรอม)
หะดีษที่ 6/5 ทรัพย์(รายด้)ที่ปะปน (หะล้าลกับหะรอม) dp6admin Fri, 18/10/2024 - 13:55- 20 views
หะดีษที่ 6/6 ความคลุมเครือ(ชุบฮัต)ในเรื่องการหุกุ่ม(ตัดสิน)
หะดีษที่ 6/6 ความคลุมเครือ(ชุบฮัต)ในเรื่องการหุกุ่ม(ตัดสิน) dp6admin Tue, 22/10/2024 - 18:04- 34 views
หะดีษที่ 6/7 คนที่หลีกเลี่ยงและที่ตกในความคลุมเครือ(ชุบฮาต)
หะดีษที่ 6/7 คนที่หลีกเลี่ยงและที่ตกในความคลุมเครือ(ชุบฮาต) dp6admin Sat, 26/10/2024 - 15:14- 36 views
หะดีษที่ 6/8 ดินแดนต้องห้าม, ก้อนเนื้อที่ชื่อหัวใจ
หะดีษที่ 6/8 ดินแดนต้องห้าม, ก้อนเนื้อที่ชื่อหัวใจ dp6admin Sun, 27/10/2024 - 15:04- 16 views
หะดีษที่ 6/9 หัวใจจะดี หากหัวใจรักอัลลอฮฺ //
หะดีษที่ 6/9 หัวใจจะดี หากหัวใจรักอัลลอฮฺ // dp6admin Mon, 28/10/2024 - 12:13- 16 views
หะดีษที่ 7 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ (4)
หะดีษที่ 7 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ (4)عَنْ أَبِي رُقَيَّةَ تَمِيمِ بْنِ أَوسٍ الدَّارِيِّ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ أَنّ النَّبِيَّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ
(( قَالَ : (( الدِّينُ النَّصِيحَةُ
قُلْنَا : لِمَنْ ؟
قَالَ : (( لِلَّهِ ، وَلِكِتَابِهِ ، وَلِرَسُولِهِ ، وَلأَئِمَّةِ الْمُسْلِمِينَ وَعَامَّتِهِمْ )) رَوَاهُ مُسْلِمٌ .
จากอบูรุก็อยยะฮฺ (ตะมีม บิน เอาวสฺ อัดดารี) กล่าวว่า : ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ศาสนานั้นคือ การตักเตือน” พวกเราถามว่า “สำหรับใคร (โอ้ท่านนบี)?”
ท่านนบี ตอบว่า “สำหรับอัลลอฮฺ, คัมภีร์ของพระองค์, ศาสนทูตของพระองค์, ผู้นำมุสลิม และสำหรับมุสลิมทั่ว ๆ ไป” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
ไฟลเสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4
- 1290 views
หะดีษที่ 7/1 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ
หะดีษที่ 7/1 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ dp6admin Mon, 11/11/2024 - 22:25- 39 views
หะดีษที่ 7/2 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ
หะดีษที่ 7/2 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ dp6admin Tue, 12/11/2024 - 15:41- 21 views
หะดีษที่ 7/3 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ
หะดีษที่ 7/3 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ dp6admin Thu, 14/11/2024 - 19:59- 18 views
หะดีษที่ 7/4 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ //
หะดีษที่ 7/4 อัดดีนุนนะศีหะฮฺ // dp6admin Fri, 15/11/2024 - 14:35- 35 views
หะดีษที่ 8 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์ (2)
หะดีษที่ 8 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์ (2) dp6admin Wed, 26/12/2018 - 20:01- 1205 views
หะดีษที่ 8/1 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์
หะดีษที่ 8/1 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์ dp6admin Sun, 17/11/2024 - 15:03- 23 views
หะดีษที่ 8/2 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์
หะดีษที่ 8/2 ฉันถูกส่งมาสำหรับสู้กับมนุษย์ dp6admin Mon, 18/11/2024 - 15:04- 23 views
หะดีษที่ 9 อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน (5)
หะดีษที่ 9 อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน (5) dp6admin Thu, 27/12/2018 - 13:47- 2440 views
หะดีษที่ 9/1 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์)
หะดีษที่ 9/1 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์) dp6admin Thu, 21/11/2024 - 23:12- 23 views
หะดีษที่ 9/2 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์)
หะดีษที่ 9/2 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์) dp6admin Fri, 22/11/2024 - 22:22- 16 views
หะดีษที่ 9/3 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์)
หะดีษที่ 9/3 อย่าถามมาก (ในเรื่องไร้สาระ ไร้ประโยชน์) dp6admin Sun, 24/11/2024 - 13:32- 24 views
หะดีษที่ 9/4 อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน...
หะดีษที่ 9/4 อันใดที่ฉันได้ห้ามท่าน ก็จงปลีกห่างมัน... dp6admin Mon, 25/11/2024 - 13:10- 23 views
หะดีษที่ 9/5 อันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ//
หะดีษที่ 9/5 อันใดที่ฉันสั่งให้ทำก็จงปฏิบัติเท่าที่ท่านสามารถ// dp6admin Tue, 26/11/2024 - 13:56- 14 views
หะดีษที่ 10 แท้จริงอัลลอฮฺนั้นดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ (7)
หะดีษที่ 10 แท้จริงอัลลอฮฺนั้นดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ (7)الْحَدِيْثُ العاشر หะดีษที่ 10
عَنْ أَبِي هُرَيْرَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ قَالَ : قَالَ رَسُولَ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : (( إِنَّ اللهَ تَعَالَى طَيِّبٌ لاَ يَقْبَلُ إِلاَّ طَيِّبًا ، وَإِنَّ اللهَ أَمَرَ الْمُؤْ مِنِينَ بِمَا أَمَرَبِهِ الْمُرْسَلِينَ ،فَقَالَ تَعَالَى ﴿ يَاأَيُّهَا الرُّسُلُ كُلُوا مِنَ الطَّيِّبَاتِ وَاعْمَلُوا صَالِحًا ﴾ وَقَالَ تَعَالَى ﴿ يَاأَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا كُلُوا مِنْ طَيِّبَاتِ مَارَزَقْنَاكُمْ ﴾ จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ กล่าวว่า : ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดี ๆ และแท้จริงอัลลอฮฺได้ทรงกำชับให้ผู้ศรัทธา (เช่นเดียวกัน) กับพระองค์ทรงกำชับบรรดาร่อซูล (กล่าวคือ) พระองค์พระผู้ทรงสูงส่งได้ตรัสว่า “โอ้บรรดาร่อซูล จงกินจากสิ่งที่ดี และจงกระทำการดี” และยังตรัสอีกว่า “โอ้บรรดาผู้ศรัทธา จงกินจากที่ดี ๆ ซึ่งเราได้ให้เป็นปัจจัยยังชีพของสูเจ้า” หลังจากนั้นท่าน (ร่อซูล) ได้เล่าเรื่องชายคนหนึ่งที่เดินทางเป็นระยะเวลายาวนานจน (ผม) ยุ่งเหยิง และฝุ่นตลบ เขาแบมือทั้งสองสู่ฟ้า (พลางขอดุอาอฺว่า) ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ข้าแต่พระผู้อภิบาล ! ขณะนั้น อาหารที่เขากินนั้นเป็นอาหารที่ต้องห้าม เครื่องดื่มของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และเสื้อผ้าของเขาก็เป็นที่ต้องห้าม และบำรุงปากท้องของเขาด้วยสิ่งที่ต้องห้าม ดังนี้แล้วจะมีการตอบสนองการขอของเขาได้อย่างไร” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม |
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 46 (หะดีษที่ 10/5) : ทำอย่างไรให้อัลลอฮฺตอบรับดุอาอฺ, ดุอาอฺของผู้ถูกอธรรม, อียิปต์กับฆ็อซซะฮฺ, การยกมือและนิ้วขณะขอดุอาอฺลักษณะต่างๆ ที่มีในแบบฉบับของท่านนบี
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 47 (หะดีษที่ 10/6) : การยกมือขอดุอาอฺ, มารยาทในการขอดุอาอฺ, ปัจจัยที่ทำให้ดุอาอฺตอบรับ, สามคนที่อัลลอฮฺจะไม่มอง, ซะอดฺ อิบนุอบีวักกอส, เชคสุอู๊ด อัชชุเรม, ความสำคัญของการเลือกอาหารหะล้าล
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 48 (หะดีษที่ 10/7) : การขอดุอาอฺ, ตะวัซซุ้ล, สื่อในการขอดุอาอฺ
- 789 views
หะดีษที่ 10-1 อัลลอฮฺนั้นทรงดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ
หะดีษที่ 10-1 อัลลอฮฺนั้นทรงดี ไม่ทรงรับสิ่งใดนอกจากที่ดีๆ dp6admin Sun, 01/12/2024 - 15:32- 36 views
หะดีษที่ 10-2 อะมั้ลจะไม่ถูกรับ จนกว่าจะบริโภคสิ่งหะล้าล
หะดีษที่ 10-2 อะมั้ลจะไม่ถูกรับ จนกว่าจะบริโภคสิ่งหะล้าล dp6admin Mon, 02/12/2024 - 19:31- 12 views
หะดีษที่ 10-3 นำสิ่งหะรอม มาใช้ทำความดี (หรือใช้ทำอิบาดะฮฺ)
หะดีษที่ 10-3 นำสิ่งหะรอม มาใช้ทำความดี (หรือใช้ทำอิบาดะฮฺ) dp6admin Tue, 03/12/2024 - 15:15- 13 views
หะดีษที่ 10-4 สิ่งที่ขโมยหรือยึดมาจากผู้อื่น
หะดีษที่ 10-4 สิ่งที่ขโมยหรือยึดมาจากผู้อื่น dp6admin Fri, 06/12/2024 - 20:00- 22 views
หะดีษที่ 10-5 มารยาทขอดุอาอฺ, 4 ประการดุอาอฺมุสตะจาบ, ยกมือ
หะดีษที่ 10-5 มารยาทขอดุอาอฺ, 4 ประการดุอาอฺมุสตะจาบ, ยกมือ dp6admin Sun, 08/12/2024 - 14:52หะดีษที่ 10-6 มารยาทในการขอดุอาอฺ, ดุอาอฺ "ร็อบบะนา"
หะดีษที่ 10-6 มารยาทในการขอดุอาอฺ, ดุอาอฺ "ร็อบบะนา" dp6admin Mon, 09/12/2024 - 14:29- 39 views
หะดีษที่ 10-7 สิ่งที่จะปิดกั้นดุอาอฺ, ตะวัซซุ้ล //
หะดีษที่ 10-7 สิ่งที่จะปิดกั้นดุอาอฺ, ตะวัซซุ้ล // dp6admin Tue, 10/12/2024 - 20:23- 51 views
หะดีษที่ 11 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย (3)
หะดีษที่ 11 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย (3)الْحَدِيْثُ الحَادِي عَشَرَ หะดีษที่ 11
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2553 / บ้านทองทา บางกอกน้อย
عَنْ أَبِي مُحَمَّدٍ الْحَسَنِ بْنِ عَلِيِّ بْنِ أَبِي طَالِبٍ سِبْطِ رَسُولِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَرَيْحَانَتِهِ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا قَالَ: حَفِظْتُ مِنْ رَسُولِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : (( دَعْ مَا يَرِيْبُكَ إِلَى مَا لاَ يَرِيبُكَ )) رَوَاهُ التِّرْمِذِيُّ وَالنَّسَائِيُّ وَقَالَ التِّرْمِذِيُّ : حَدِيْثٌ حَسَنٌ صَحِيْحٌ .
จากอบูมุฮัมมัด (อัลหะซัน บินอะลี บินอบูฏอลิบ) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา หลานของท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และเป็นที่รักยิ่งของท่าน กล่าวว่า“ฉันได้ท่องจำ (คำพูด) ของท่านร่อซูล ว่า : จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย (คลางแคลง) แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย (คลางแคลง)” หะดีษนี้บันทึกโดย อัตติรมิซีย์และนะซาอีย์ (อัตติรมิซีย์กล่าวว่าเป็นหะดีษหะซันเศาะฮีฮฺ)
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3
- 600 views
หะดีษ 11-1 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย
หะดีษ 11-1 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย dp6admin Thu, 19/12/2024 - 20:08- 27 views
หะดีษ 11-2 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย
หะดีษ 11-2 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย dp6admin Fri, 20/12/2024 - 21:22- 36 views
หะดีษ 11-3 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย (จบ)
หะดีษ 11-3 จงละทิ้งสิ่งที่ทำให้ท่านสงสัย แล้วไปทำสิ่งที่ไม่ทำให้ท่านสงสัย (จบ) dp6admin Sat, 21/12/2024 - 22:17- 45 views
หะดีษที่ 12 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เขา (4)
หะดีษที่ 12 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เขา (4)อธิบายหะดีษจากญามิอุลอุลูมวัลหิกัม
الحديث الثاني عشر หะดีษที่ 12
วันศุกร์ที่ 19 เราะบีอุ้ลเอาวัล 1431 (5 มีนาคม 2553) / บ้านทองทา บางกอกน้อย
عَنْ أَبِي هُرَيْرَةَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ قَالَ : قَالَ رَسُولُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ : (( مِنْ حُسْنِ إِسْلاَمِ الْمَرْءِ تَرْكُهُ مَا لاَ يَعْنِيهِ )) حَدِيْثٌ حَسَنٌ ، رَوَاهُ التِّرْمِذِيُّ وَغَيْرُهُ هكَذَا .
จากอบูฮุร็อยเราะฮ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า : ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลามในคน ๆ หนึ่งนั้นคือ ละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เขา” หะดีษหะซัน บันทึกโดยอัตติรมิซีย์และอื่น ๆ
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4
- 2252 views
หะดีษ 12-1 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์
หะดีษ 12-1 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ dp6admin Sat, 20/02/2010 - 10:24- 237 views
หะดีษ 12-2 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์
หะดีษ 12-2 ส่วนหนึ่งจากความดีแห่งอิสลาม คือละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ dp6admin Mon, 01/03/2010 - 08:58- 123 views
หะดีษ 12-3 ละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ (การตอบแทนทวีคูณ)
หะดีษ 12-3 ละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ (การตอบแทนทวีคูณ) dp6admin Fri, 05/03/2010 - 23:18- 124 views
หะดีษ 12-4 ละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ (การเปลี่ยนความชั่วให้เป็นความดี)//
หะดีษ 12-4 ละทิ้งสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ (การเปลี่ยนความชั่วให้เป็นความดี)// dp6admin Thu, 20/06/2019 - 13:53- 115 views
หะดีษที่ 13 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง
หะดีษที่ 13 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง dp6admin Fri, 28/12/2018 - 18:27- 2795 views
หะดีษ 13-1 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง
หะดีษ 13-1 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง dp6admin Fri, 28/06/2019 - 14:56- 344 views
หะดีษ 13-2 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง
หะดีษ 13-2 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง dp6admin Fri, 28/06/2019 - 15:05หะดีษ 13-3 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง
หะดีษ 13-3 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง dp6admin Sat, 29/06/2019 - 11:35หะดีษ 13-4 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง//
หะดีษ 13-4 ศรัทธาไม่สมบูรณ์ จนกว่าจะรักพี่น้อง// dp6admin Sat, 29/06/2019 - 12:05หะดีษที่ 14 ไม่เป็นที่อนุมัติเลือดของมุสลิมคนหนึ่ง นอกจากสาเหตุหนึ่งในสามประการ (5)
หะดีษที่ 14 ไม่เป็นที่อนุมัติเลือดของมุสลิมคนหนึ่ง นอกจากสาเหตุหนึ่งในสามประการ (5) dp6admin Fri, 28/12/2018 - 18:40- 1614 views
หะดีษ 14-1 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ทำซินา)
หะดีษ 14-1 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ทำซินา) dp6admin Fri, 10/01/2025 - 12:38- 17 views
หะดีษ 14-2 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ทำซินา)
หะดีษ 14-2 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ทำซินา) dp6admin Sat, 11/01/2025 - 20:36- 10 views
หะดีษ 14-3 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ฆาตกรรม)
หะดีษ 14-3 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ฆาตกรรม) dp6admin Sun, 12/01/2025 - 15:23- 9 views
หะดีษ 14-4 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ฆาตกรรม)
หะดีษ 14-4 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (ฆาตกรรม) dp6admin Mon, 13/01/2025 - 11:38- 5 views
หะดีษ 14-5 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (มุรตัด)//
หะดีษ 14-5 ไม่อนุมัติเลือดมุสลิม ยกเว้น 3 กรณี (มุรตัด)// dp6admin Tue, 14/01/2025 - 12:09- 10 views
หะดีษที่ 15 พูดดีหรือนิ่งเงียบ, ให้เกียรติเพื่อนบ้านและแขก (3)
หะดีษที่ 15 พูดดีหรือนิ่งเงียบ, ให้เกียรติเพื่อนบ้านและแขก (3) dp6admin Sat, 18/09/2010 - 07:32- 3214 views
หะดีษ 15-1 ผู้ใดศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันสุดท้าย จะต้องพูดดีหรือไม่ก็เงียบ
หะดีษ 15-1 ผู้ใดศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันสุดท้าย จะต้องพูดดีหรือไม่ก็เงียบ dp6admin Fri, 17/01/2025 - 11:31- 21 views
หะดีษ 15-2 ผู้ใดศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันสุดท้าย จะต้องให้เกียรติเพื่อนบ้าน
หะดีษ 15-2 ผู้ใดศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันสุดท้าย จะต้องให้เกียรติเพื่อนบ้าน dp6admin Sat, 18/01/2025 - 14:31- 8 views
หะดีษ 15-3 ให้เกียรติแขก//
หะดีษ 15-3 ให้เกียรติแขก// dp6admin Sun, 19/01/2025 - 13:01- 7 views
หะดีษที่ 16 ท่านอย่าโมโห (4)
หะดีษที่ 16 ท่านอย่าโมโห (4) dp6admin Mon, 31/12/2018 - 21:45- 568 views
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 68 (หะดีษที่ 16/1 อย่าโมโห)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 68 (หะดีษที่ 16/1 อย่าโมโห) dp6admin Tue, 01/01/2019 - 13:57ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 69 (หะดีษที่ 16/2)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 69 (หะดีษที่ 16/2) dp6admin Wed, 02/01/2019 - 06:59- 255 views
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 70 (หะดีษที่ 16/3)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 70 (หะดีษที่ 16/3) dp6admin Wed, 02/01/2019 - 07:03- 121 views
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 71 (หะดีษที่ 16/4)
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 71 (หะดีษที่ 16/4) dp6admin Wed, 02/01/2019 - 07:08- 102 views
หะดีษที่ 17 อัลลอฮฺได้กำหนดให้กระทำดีต่อทุกสิ่ง (3)
หะดีษที่ 17 อัลลอฮฺได้กำหนดให้กระทำดีต่อทุกสิ่ง (3) dp6admin Wed, 02/01/2019 - 17:47- 1142 views
หะดีษที่ 18 จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด (12)
หะดีษที่ 18 จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด (12) dp6admin Fri, 24/12/2010 - 20:19หะดีษที่ 18
عَنْ أَبِي ذَرٍّ جُنْدُب ابْنِ جُنَادَةَ وَأَبِي عَبْدِ الرَّحْمنِ مَعَاذِ بْنِ جَبَلٍ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا عَنْ رَسُولِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ قَالَ :
(( اتَّقِ اللهَ حَيْثُمَا كُنْتَ ، وَأَتْبِعِ السَّيِّئَةَ الْحَسَنَةَ تَمْحُهَا ، وَخَالَقِ النَّاسَ بِخُلُقٍ حَسَنٍ )) رَوَاهُ التِّرْمِذِيُّ وَقَالَ : حَدِيْثٌ حَسَنٌ ، وَفِي بَعْضِ النُّسَخِ حَسَنٌ صَحِيْحٌ .
จากอบูซัรรฺ (ญุนดุบ บินญุนาดะฮฺ) และอบูอับดุรเราะฮฺมาน (มุอ๊าซ บินญะบัล) ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา จากท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า “จงยำเกรงอัลลอฮฺไม่ว่าท่านจะอยู่ที่ใด และจงตามหลังความชั่วด้วยการทำดี มันย่อมลบล้างได้ และจงคบเพื่อนมนุษย์ด้วยกริยามารยาทที่ดีงาม” หะดีษนี้บันทึกโดยติรมิซีย์ ซึ่งกล่าวว่าเป็นหะดีษหะซัน และในต้นฉบับบางเล่ม (ของติรมิซีย์) กล่าวว่า เป็นหะดีษหะซันเศาะฮีฮฺ
ไฟล์เสียงอธิบายหะดีษ : ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7 | ครั้งที่ 8 | ครั้งที่ 9 | ครั้งที่ 10 | ครั้งที่ 11 | ครั้งที่ 12
ดาวน์โหลด : เอกสารประกอบการบรรยาย(หะดีษที่ 18)
วีดีโอ ครั้งที่ 4
- 3438 views
หะดีษที่ 19 เจ้าจงรักษาอัลลอฮฺ แล้วพระองค์จะรักษาเจ้า (8)
หะดีษที่ 19 เจ้าจงรักษาอัลลอฮฺ แล้วพระองค์จะรักษาเจ้า (8) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 20:47- 1445 views
หะดีษที่ 20 ถ้าท่านไม่ละอาย ก็จงทำที่ท่านปรารถนา (2)
หะดีษที่ 20 ถ้าท่านไม่ละอาย ก็จงทำที่ท่านปรารถนา (2) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:02- 2250 views
หะดีษที่ 21 จงกล่าวว่าฉันศรัทธาต่ออัลลอฮฺ แล้วท่านจงปฏิบัติด้วยความเที่ยงตรง (2)
หะดีษที่ 21 จงกล่าวว่าฉันศรัทธาต่ออัลลอฮฺ แล้วท่านจงปฏิบัติด้วยความเที่ยงตรง (2) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:06- 811 views
หะดีษที่ 22 สิทธิของผู้ศรัทธาในการเข้าสวรรค์ (3)
หะดีษที่ 22 สิทธิของผู้ศรัทธาในการเข้าสวรรค์ (3) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:10- 558 views
หะดีษที่ 23 การทำความสะอาด(การอาบน้ำละหมาด)เป็นครึ่งหนึ่ง(ส่วนหนึ่ง)ของอีมาน (5)
หะดีษที่ 23 การทำความสะอาด(การอาบน้ำละหมาด)เป็นครึ่งหนึ่ง(ส่วนหนึ่ง)ของอีมาน (5) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:17- 2109 views
หะดีษที่ 24 โอ้บ่าวของข้า (8)
หะดีษที่ 24 โอ้บ่าวของข้า (8) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:30- 1483 views
หะดีษที่ 25 การเศาะดะเกาะฮฺ (3)
หะดีษที่ 25 การเศาะดะเกาะฮฺ (3) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:42- 994 views
หะดีษที่ 26 ทุกข้อกระดูกจะต้องทำเศาะดะเกาะฮฺทุกวัน (6)
หะดีษที่ 26 ทุกข้อกระดูกจะต้องทำเศาะดะเกาะฮฺทุกวัน (6) dp6admin Wed, 23/01/2019 - 21:50- 1879 views
หะดีษที่ 27 คุณธรรมนั้นคือมารยาทที่ดีงาม ความชั่วนั้นคือสิ่งที่อึดอัดในใจของท่าน (5)
หะดีษที่ 27 คุณธรรมนั้นคือมารยาทที่ดีงาม ความชั่วนั้นคือสิ่งที่อึดอัดในใจของท่าน (5) dp6admin Tue, 15/05/2012 - 14:28- 935 views
หะดีษที่ 28 คำสั่งเสียจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม (11)
หะดีษที่ 28 คำสั่งเสียจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม (11) dp6admin Thu, 24/01/2019 - 15:51- 1934 views
หะดีษที่ 29 การงานที่ทำให้ได้เข้าสวรรค์-ห่างไกลนรก, จงระงับลิ้น (4)
หะดีษที่ 29 การงานที่ทำให้ได้เข้าสวรรค์-ห่างไกลนรก, จงระงับลิ้น (4) dp6admin Fri, 01/02/2019 - 08:35- 2971 views
หะดีษที่ 30 บัญญัติแห่งความเมตตา (8)
หะดีษที่ 30 บัญญัติแห่งความเมตตา (8) dp6admin Fri, 01/02/2019 - 08:47- 1611 views