ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 191 (หะดีษที่ 36/5)

Submitted by admin on Fri, 26/12/2014 - 01:12
หัวข้อเรื่อง
"...ผู้ใดขวนขวายหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะทรงให้ความสะดวกแก่เขาในหนทางไปยังสวรรค์,...", คุณค่าความรู้ในยุคสะลัฟ, ยะหฺยา อิบนุมะอีน, อัลลัยษฺ อิบนุสะอดฺ, การยึดความรู้, สะอี๊ด อิบนุมุซัยยิบ, การศึกษาในยุคสะลัฟ, ฮะละเกาะฮฺ,
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
4 เราะบีอุ้ลเอาวัล 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
19.00 mb
ความยาว
82.00 นาที
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

 

الحديثُ السَّادِسُ والثلا ثون 
عن أبي هُرَيْرَةَ رضي اللهُ عنه ، عَنِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم قَالَ : 
(( مَنْ نَفَّسَ عَنْ مُؤمِنٍ كُرْبَةً مِنْ كُرَبِ الدُّنْيا نَفَّسَ اللهُ عَنْهُ كُرْبَةً مِنْ كُرَبِ يَوْمِ الْقِيَامَةِ ،وَمَنْ يَسَّرَ عَلَى مُعْسِرٍ يَسَّرَ اللهُ عَلَيْهِ فِي الدُّنْيَا وَالآخِرَةِ ،وَمَنْ سَتَرَ مُسْلِما سَتَرَهُ اللهُ فِي الدُّنْيَا وَالْآخِرَةِ ،
وَاللهُ فِي عَوْنِ الْعَبْدِ مَا كَانَ الْعَبْدُ في عَوْنِ أَخِيْهِ . وَمَنْ سَلَكَ طَرِيْقاً يَلْتَمِسُ فِيهِ عِلْماً سَهَّلَ اللهُ لَهُ بِهِ طَرِيْقاً إِلَى الْجَنَّةِ .وَمَا اجْتَمَعَ قَوْمٌ فِي بَيْتٍ مِنْ بُيُوتِ اللهِ يَتْلُونَ كِتَابَ اللهِ وَيَتَدَارَسُونَهُ بَيْنَهُمْ ، إِلاَّ نَزَلَتْ عَلَيْهُمُ السَّكِينَةُ ، وَغَشِيَتْهُمُ الرَّحْمَةُ ، وَحَفَّتْهُمُ الْمَلاَئِكَةُ ، وذَكَرَهُمُ اللهُ فِيْمَنْ عِنْدَهُ . وَمَنْ بَطَّأَ بِهِ عَمَلُهُ لَمْ يُسْرِعْ بِهِ نَسَبُهُ )). رَوَاهُ مُسْلِمٌ بِهذَا اللَّفْظِ .
หะดีษที่ 36
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ จาก ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ผู้ใดก็ตามที่ช่วยให้มุสลิม(ผู้ศรัทธา)หลุดพ้นจากความทุกข์อย่างหนึ่งจากความทุกข์แห่งดุนยา อัลลอฮฺจะทรงปลดปล่อยเขา (จาก) ความทุกข์หนึ่งของความทุกข์ในวันกิยามะฮฺ
ผู้ใดช่วยเหลือผู้ที่กำลังยากลำบาก อัลลอฮฺจะทรงช่วยเขาทั้งในโลกนี้และอาคิเราะฮฺ
ผู้ใดปกปิดความอับอายของมุสลิม อัลลอฮฺจะทรงปิดความอับอายของเขาทั้งในโลกนี้และอาคิเราะฮฺ, อัลลอฮฺพร้อมที่จะช่วยเหลือบ่าวของพระองค์ ตราบที่บ่าวคนนั้นชอบที่จะช่วยเหลือพี่น้องของเขา,
ผู้ใดขวนขวายหนทางเพื่อแสวงหาความรู้ อัลลอฮฺจะทรงให้ความสะดวกแก่เขาในหนทางไปยังสวรรค์,
เมื่อพวกหนึ่งได้ชุมนุม ณ บ้านแห่งหนึ่งจากบ้านของอัลลอฮฺ (มัสยิด) ด้วยการอ่านคัมภีร์แห่งอัลลอฮฺ และการศึกษาหาความรู้กันและกัน ความสงบราบรื่นก็จะลงมายังพวกเขา และพวกเขาจะถูกปกคลุมด้วยความเมตตา (เราะหฺมัต) แห่งพระผู้เป็นเจ้า และจะถูกล้อมรอบด้วยมะลาอิกะฮฺ และอัลลอฮฺจะทรงระลึกถึงพวกเขาในกลุ่มผู้ที่อยู่ ณ พระองค์ (บรรดามะลาอิกะฮฺที่เฝ้าพระองค์) และผู้ใดปฏิบัติกิจการงานของเขาด้วยความเฉื่อย อัลลอฮฺจะไม่ทรงยกฐานะของเขาอย่างรวดเร็ว” หะดีษทำนองนี้มีหลายสำนวน สำนวนนี้ตามบันทึกของมุสลิม

 
 
وذكر النَّبيُّ  يوماً رفع العلم ، فقيل له : كيف يذهبُ العلم وقد قرأنا القرآن ، وأقرأناه نساءنا وأبناءنا ؟ فقال النَّبيُّ  : (( هذه التَّوراة والإنجيلُ عندَ اليهود والنَّصارى ، فماذا تُغني عنهم ؟ )) فسئل عبادةُ بن الصَّامت عن هذا الحديث ، فقال : لو شئت لأخبرتُك بأوَّلِ علمٍ يرفع مِنَ الناس : الخشوع ( ) ، وإنَّما قال عُبادة هذا ، لأنَّ العلم قسمان :
أحدهما : ما كان ثمرتُه في قلبِ الإنسان ، وهو العلمُ بالله تعالى ، وأسمائه ، وصفاته ، وأفعاله المقتضي لخشيتِهِ ، ومهابتِه ، وإجلالِه ، والخضوع له ، ولمحبَّتِه ، ورجائهِ ، ودعائه ، والتوكُّل عليه ، ونحو ذلك ، فهذا هو العلمُ النافع ، كما قال ابنُ مسعود : إنَّ أقواماً يقرءون القرآن لا يُجاوُزِ تراقيهم ، ولكن إذا وقع في القلب ، فرسخ فيه ، نفع ( ) .
อิบนุมัสอู๊ดกล่าวว่า – แท้จริงบางคนอ่านกุรอานจริง แต่กุรอานไม่ผ่านกระดูกไรปลาร้า
وقال الحسنُ : العلم علمان : علمٌ على اللسان ، فذاك حُجَّة الله على ابن آدم ، وعلم في القلب ، فذاك العلم النافع ( ) .
หะซัน อัลบัศรี – ความรู้สองประเภท 1- ความรู้ที่อยู่กับลิ้น 2- ความรู้นัหวใจ
والقسم الثاني : العلمُ الذي على اللِّسَانِ ،2- ความรู้ที่อยู่ที่ลิ้น
 وهو حجَّةُ الله كما في الحديث : (( القرآن حجة لك أو عليك )) ( ) ، فأوَّلُ ما يُرفعُ مِنَ العلم ، العلمُ النَّافع ، وهو العلم الباطنُ الذي يُخالِطُ القلوبَ ويُصلحها ، ويبقى علمُ اللِّسان حجَّةً ، فيتهاونُ الناسُ به ، ولا يعملون بمقتضاه ، لا حملتُه ولا غيرهم ، ثم يذهبُ هذا العلم بذهاب حَمَلتِه ، فلا يبقى إلا القرآن في المصاحف ، وليس ثَمَّ من يعلمُ معانيه ، ولا حدوده ، ولا أحكامه ، ثمَّ يسرى به في آخر الزمان ، فلا يبقى في المصاحف ولا في القُلوب منه شيءٌ بالكلِّيَّةِ ، وبعد ذلك تقومُ السَّاعة ، كما قال  : (( لا تقومُ السَّاعة إلاَّ على شرارِ الناس )) ( ) ، وقال : (( لا تقومُ الساعةُ ( ) وفي الأرض أحدٌ يقول : الله الله )) ( ) .
قوله  : (( وما جلس قومٌ في بيتٍ من بيوتِ الله ، يتلونَ كتابَ الله ، ويتدارسونه بينهم ، إلا نزلت عليهمُ السَّكينةُ ، وغشيتهُم الرَّحمة ، وحفَّتهم الملائكةُ ، وذكرهمُ اللهُ فيمن عنده )) ( ) . هذا يدلُّ على استحباب الجلوس في المساجد لتلاوة القرآن ومدارسته . وهذا إن حُمِل على تعلم القرآن وتعليمه ، فلا خلاف في استحبابه ، وفي " صحيح البخاري " ( ) عن عثمان ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( خيرُكم من تعلَّم القرآن وعلَّمه )) . قال أبو عبد الرحمان السلمي : فذاك الذي أقعدني مقعدي هذا ، وكان قد علم القرآن في زمن عثمان بن عفان حتى بلغ الحجَّاجَ بن يوسف .