ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 186 (หะดีษที่ 35/8 ห้ามละเมิด)

Submitted by admin on Fri, 14/11/2014 - 22:48
หัวข้อเรื่อง
"... เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา”
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
21 มุฮัรรอม 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
22.50 mb
ความยาว
94.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

วีดีโอ

الحديث الخامس والثلاثون 
 
عَنْ أَبي هُريرةَ رضي الله عنه ، قالَ : قالَ رسول الله صلى الله عليه وسلم  : (( لا تَحَاسَدُوا ، ولا تَنَاجَشوا ، ولا تَبَاغَضُوا ، ولا تَدَابَرُوا ، ولا يَبِعْ بَعضُكُمْ على بَيعِ بَعضٍ ، وكُونُوا عِبادَ اللهِ إِخْواناً ، المُسلِمُ أَخُو المُسلم ، لا يَظلِمُهُ ولا يَخذُلُهُ ، ولا يَكذِبُهُ ، ولا يَحقِرُهُ ، التَّقوى هاهُنا )) ، - ويُشيرُ إلى صدرِهِ ثلاثَ مرَّاتٍ - (( بِحَسْبِ امرئٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يَحقِرَ أخَاهُ المُسلِمَ ، كُلُّ المُسلمِ على المُسلِمِ حرامٌ : دَمُهُ ومَالُهُ وعِرضُهُ )) . رواه مسلم .
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ท่านทั้งหลายอย่าได้อิจฉาริษยากันและกัน อย่าแย่งผลประโยชน์กัน อย่าโกรธกัน อย่าหันหลังให้แก่กัน  อย่าซื้อขายโดยหักหลังซึ่งกันและกัน(ตัดหน้า) จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง – เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา”
หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
 
وفي " الصحيحين " ( ) عن أبي هريرة ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( تحاجَّت الجنَّةُ والنَّارُ ، فقالتِ النَّارُ : أُوثِرْتُ بالمتكبِّرينَ والمتجبِّرين ، وقالتِ الجنَّةُ : لا يدخُلُني إلا ضعفاءُ النَّاس وسَقَطُهم ، فقال الله للجنَّةِ : أنت رحمتي أرحمُ بك من أشاءُ من عبادي ، وقال للنار : أنت عذابي ، أعذِّبُ بكِ من أشاء من عبادي )) .
นรกกับสวรรค์ได้โต้เถียงกัน
นรกบอกว่า – อัลลอฮฺได้เตรียมฉันไว้สำหรับพวกยโส(ตะกับบุร) ชอบแสดงความยิ่งใหญ่(โอ้อวด) สวรรค์ก็บอกว่า – ไม่มีใครจะเข้าฉัน นอกจากคนที่อ่อนแอ ถูกดูถูก คนชั้นต่ำ 
อัลลอฮฺได้ยินสวรรค์นรกโต้เถียงกัน พระองค์ได้บอกกับสวรรค์ว่า “เจ้าคือความเมตตาของข้า ข้าใช้เจ้าในการเมตตาบ่าวของข้าที่ข้าประสงค์” และได้บอกกับนรกว่า “เจ้าคือการลงโทษของข้า เจ้าก็จะเป็นการลงโทษสำหรับบ่าวของข้าที่ข้าประสงค์”
อีกสำนวนหนึ่ง
وخرَّجه الإمام أحمد ( ) من حديث أبي سعيدٍ عن النَّبيِّ  قال : (( افتخرت الجنَّةُ والنَّارُ ، فقالت النار : يا ربِّ ، يدخُلُني الجبابرة والمتكبِّرون والملوكُ والأشرافُ ، وقالت الجنَّةُ : يا ربِّ يدخُلُني الضُّعفاء والفقراءُ والمساكين )) وذكر الحديث .
สวรรค์กับนรกมาโอ้อวดกัน  
นรกบอกว่า “โอ้พระผู้อภิบาลของฉัน คนที่จะเข้าฉันคือบรรดากษัตริย์ คนใหญ่โต คนมีเกียรติ” 
สวรรค์กล่าวว่า “คนที่จะเข้าฉันคือคนที่อ่อนแอ ยากจน บรรดามิสกีน(ผู้ขัดสน)”
وفي " صحيح البخاري " ( ) عن سهل بن سعد ، قال : مرَّ رجلٌ على 
رسولِ الله  ، فقال لرجل عنده جالس : (( ما رأيك في هذا ؟ )) فقالَ رجلٌ منْ أشراف الناس : هذا والله حريٌّ إنْ خطَب أنْ يُنكح ، وإنْ شفع أنْ يشفَّعَ ، وإن قالَ أن يُسمَعَ لقوله ، قالَ : فسكت النَّبيُّ  ، ثُمَّ مرَّ رجلٌ آخر ، فقالَ لهُ رسول الله  : (( ما رأيك في هذا ؟ )) قال : يا رسول الله ، هذا رجلٌ مِن فقراء المسلمين ، هذا حريٌّ إنْ خطب أنْ لا يُنكحَ ، وإن شفع أن لا يشفَّع ، وإنْ قال أنْ لا يُسمع لقوله ، فقال رسول  : (( هذا خيرٌ من ملءِ الأرض مثل هذا )) .
وقال محمد بنُ كعب القُرَظيُّ في قوله تعالى :  إِذَا وَقَعَتِ الْوَاقِعَةُ لَيْسَ لِوَقْعَتِهَا كَاذِبَةٌ خَافِضَةٌ رَافِعَةٌ  ( ) ، قال : تَخفِضُ رجالاً كانوا في الدُّنيا 
مرتفعين ، وترْفَعُ رجالاً كانوا في الدُّنيا مخفوضين .
กะอบฺ อัลกุรอซี เดิมเป็นชาวยิว แล้วเข้ารับอิสลาม เป็นเด็กที่อยู่กับเผ่ากุร็อยเซาะฮฺตอนที่วางแผนฆ่าท่านนบี แล้วนบีให้ประหารนักรบทั้งหมด ส่วนกะอบฺยังเป็นเด็กเลือกเข้ารับอิสลาม มุฮัมมัด บินกะอบฺ อัลกุรอซี ลูกของเขาเป็นตาบิอีน เป็นอุละมาอฺอธิบายอัลกุรอาน  ได้อธิบายอัลกุรอานอายะฮฺนี้ว่า...
 
قوله  : (( بحسب امرئٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يحقِرَ أخاه المسلم ))
يعني : يكفيه مِنَ الشرِّ احتقارُ أخيه المسلم ، فإنَّه إنَّما يحتقرُ أخاه المسلم لتكبُّره عليه ، والكِبْرُ من أعظمِ خِصالِ الشَّرِّ ، وفي " صحيح مسلم " ( )
 عن النَّبيِّ  أنَّه قال : (( لا يدخلُ الجنَّة من في قلبه مثقالُ ذرَّةٍ من كِبْرٍ )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “จะไม่เข้าสวรรค์  บุคคลคนหนึ่งที่ในหัวใจของเขามีละอองธุลีแห่งตะกับบร”
وفيه أيضاً ( ) عنه أنَّه قال : (( العزُّ إزاره والكبر ( ) ردائه ، فمن نازعني عذَّبتُه )) فمنازعته الله تعالى صفاته التي لا تليقُ بالمخلوق ، كفى بها شراً .
وفي " صحيح ابن حبان " ( ) عن فَضالة بنِ عُبيدٍ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( ثلاثة لا يُسأل عنهم : رجلٌ يُنازعُ الله إزاره ، ورجلٌ يُنازع الله رداءه ، فإنَّ رداءه الكبرياء ، وإزاره العزُّ ، ورجلٌ في شكٍّ من أمر الله تعالى والقُنوطِ من رحمة الله )) .
“สามคนที่ไม่ต้องถามถึง (คือเขาหายนะแน่) คือ คนที่เอาเกียรติของอัลลอฮฺมาใส่ให้ตนเอง, คนคนหนึ่งที่ไปแย่งเครื่องนุ่งห่มของอัลลอฮฺ(เอาความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺมาใส่กับตนเอง) คือคนหนึ่งที่เอาคุณลักษณะของอัลลอฮฺมาใส่กับตนเอง, คนที่สงสัยต่ออัลลอฮฺ (ว่าอัลลอฮฺมีหรือไม่มี, สงสัยในความสามารถของพระองค์) และคนที่สิ้นหวังในความเมตตาของอัลลอฮฺ”
وفي " صحيح مسلم " ( ) عن أبي هريرة ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( من قال : هلكَ الناسُ ، فهو أهلكهم( ) )) 
ท่านนบีกล่าวว่า “คนที่โยนหายนะให้คนอื่น เขาคือคนที่หายนะคนแรก”
قال مالك : إذا قال ذلك تحزُّناً لما يرى في الناس ، يعني في دينهم فلا أرى به بأساً ، وإذا قال ذلك عُجباً بنفسه ، وتصاغُراً للناس ، فهو المكروهُ الذي نُهي عنه . ذكره أبو داود في " سننه " ( ) .
 
قوله  : (( كلُّ المسلمِ على المسلمِ حرامٌ : دمهُ ومالُه وعِرضه )) -  เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม 
“มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต)ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา”
 
ท่านนบีได้กล่าวเช่นนี้ในคุฏบะตุลวะดาอฺ 
 هذا ممَّا كان النَّبيُّ  يخطب به في المجامع العظيمةِ ، فإنَّه خطب به في حَجَّة الوداع يومَ النَّحر ، ويومَ عرفةَ ، ويوم الثاني من أيَّام التَّشريق ، وقال : (( إنَّ دماءكم وأموالكم وأعراضكم عليكم حرامٌ، كحُرمة يومكم هذا، في شهركم هذا، في بلدكم هذا ))( ) وفي رواية للبخاري ( ) وغيره : (( وأبشاركم )) .
وفي رواية : فأعادها مراراً ، ثم رفع رأسه ، فقالَ : (( اللَّهُمَّ هل بلَّغتُ ؟  اللهمَّ هل بلَّغت ؟ )) .
“โอ้อัลลอฮฺ ข้าพเจ้าได้แจ้งแล้ว”
وفي رواية : ثم قال : (( ألا ليبلغِ الشاهدُ منكمُ الغائبَ )) ( ) .
“ทุกคนในหมู่พวกท่านที่ได้ยินได้เห็นแล้วให้นำไปบอกต่อแก่ผู้ที่ไม่ได้อยู่ที่นี่”
وفي رواية للبخاري ( ) : (( فإنَّ الله حرّم عليكم دماءكم وأموالكم وأعراضكم إلا بحقها )) . 
“ห้ามละเมิดชีวิต ทรัพย์สิน เกียรติยศ ยกเว้นมีสิทธิ”
وفي رواية ( ) : (( دماؤكم وأموالُكم وأعراضُكم عليكُم حرامٌ ، مثلُ هذا اليوم ، وهذا البلد إلى يوم القيامة ، حتّى دفعةٌ يدفعُها مسلمٌ مسلماً يريدُ بها سوءاً حرام )) .
52.03 “ชีวิตของพวกท่าน ทรัพย์สินของพวกท่าน เกียรติยศของพวกท่านหะรอม เฉกเช่นวันนี้(วันอะเราะฟะฮฺ) แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์นี้(ที่ต้องห้าม) จนกระทั่งวันกิยามะฮฺ, แม้กระทั่งมุสลิมผลักมุสลิม โดยเจตนาไม่ดี (ก็)หะรอม”
وفي رواية ( ) قال : (( المؤمنُ حرامٌ على المؤمن ، كحرمة هذا اليوم لحمُه عليه حرامٌ أنْ يأكُلَه ويغتابه بالغيب ، وعِرضُه عليه حرامٌ أنْ يخرِقَه ، ووجهُه عليه حرام أنْ يَلطِمَه ، ودمُه عليه حرام أنْ يسفِكَه ، وحرامٌ عليه أنْ يدفعه دفعةً تُعنته )) .
(สายรายงานนี้ต้องพิจารณา”
53.29 “มุอฺมินกับมุอฺมินเป็นที่ต้องห้าม(ละเมิด), ห้ามละเมิดเลือดเนื้อด้วยการนินทา เกียรติยศของมุอฺมินห้ามละเมิด ใบหน้าของมุอฺมินด้วยกันห้ามตบ เลือดของมุอฺมินก็เป็นที่ต้องห้าม ห้ามผลักกัน(ทำให้เดือดร้อน)”
وفي " سنن أبي داود " ( ) عن بعضِ الصَّحابة أنَّهم كانوا يسيرونَ مَعَ النَّبيِّ  ، فنام رجلٌ منهم ، فانطلق بعضُهم إلى حبلٍ معه ، فأخذها ففزِعَ ، فقال النَّبيُّ  : (( لا يحلُّ لمسلم أنْ يروِّع مسلماً )) .
55.22 เศาะฮาบะฮฺบางท่าน นั่งอยู่กับนบี เศาะฮาบะฮฺท่านหนึ่งหลับไป อีกกลุ่มหนึ่งก็เอาเชือกมา(จากคนที่หลับ) ทำให้เขาสะดุ้งตื่น ท่านนบีกล่าวว่า “ห้ามมุสลิมทำอะไรให้มุสลิม(อีกคนหนึ่ง)ตกใจ”
وخرَّج أحمد ( ) وأبو داود ( ) والترمذي ( ) عن السَّائب بن يزيد ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( لا يأخذ أحدُكم عصا أخيه لاعباً جادّاً ، فمن أخذَ عصا أخيه ، فليردَّها إليه )) . 
“....ใครที่ไปแหย่(หรือแย่ง)ไม้เท้าเล่นๆ หรือจริง  ให้เอาคืนเขา”
قال أبو عبيد : يعني أن يأخذ شيئاً لا يريد سرقتَه ، إنَّما يريدُ إدخالَ الغيظِ عليه ، فهو لاعبٌ في مذهب السرقة ، جادٌ في إدخال الأذى والروع عليه ( ) .
وفي " الصحيحين " ( ) عن ابنِ مسعودٍ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( إذا كنتم ثلاثة ، فلا يتناجى( ) اثنان دُونَ الثَّالث ، فإنَّ ذلك يُحزِنُهُ )) ولفظه لمسلم .
59.18 “ท่านนบีกล่าวว่า “ถ้าพวกท่านนั่งกันอยู่สามคน อย่าให้สองคนคุยกันโดยคนที่สามไม่ได้ยิน เพราะจะทำให้เขาเสียใจ”
وخرَّج الطبراني ( ) من حديث ابنِ عباس عن النَّبيِّ  ، قال : (( لا يتناجى اثنان دُونَ الثَّالث ، فإنَّ ذلك يُؤذي المؤمنَ ، واللهُ يكره أذى المؤمن )) .
“สองคนอย่าคุยกันลำพัง ห่างจากคนที่สาม เพราะมันทำร้ายมุอฺมินด้วยกัน และอัลลอฮฺเกลียดการทำร้ายมุอฺมิน”
وخرَّج الإمام أحمد ( ) من حديث ثوبان ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( لا تؤذوا عبادَ الله ، ولا تعيِّرُوهم ، ولا تطلبُوا عوراتهم ، فإنَّ من طلبَ عورةَ أخيه المسلمِ ، طلب اللهُ عورَته حتى يفضحَهُ في بيته )) .
1.01.25 ท่านนบีกล่าวว่า “โอ้ผู้ศรัทธาทั้งหลาย อย่าทำร้ายบ่ายของอัลลอฮฺ อย่าดูถูกเขา อย่าเย้ยเขา อย่าสอดแนม(เสาะหาสิ่งที่ไม่ดีของเขา) ผู้ใดที่เสาะหาสิ่งที่ไม่ดีของพี่น้องมุสลิม อัลลอฮฺก็จะเสาะหาสิ่งไม่ดีของเขา จนกระทั่งพระองค์จะเปิดเผยสิ่งที่ไม่ดีในบ้านของเขา”
وفي " صحيح مسلم " ( ) عن أبي هريرة أنَّ النَّبيَّ  سُئِلَ عنِ الغيبة ، فقال : (( ذكرُك أخاكَ بما يكرهُ )) ، قال : أرأيت إنْ كان فيه ما أقولُ ؟ فقال : (( إن كان فيه ما تقولُ فقد اغتَبته ، وإنْ لم يكن فيه ما تقولُ ، فقد بهتَّه )) .
1.06.10 ท่านนบีถูกถามถึงเรื่องนินทา ท่านตอบว่า “คือการพูดถึงบุคคลที่สามในสิ่งที่เขาไม่ชอบให้กล่าวถึง” คนหนึ่งถามนบีว่า “ถ้าสิ่งที่ฉันพูดถึงเขาเป็นจริงล่ะ?” ท่านนบีตอบว่า “ถ้าเรื่องที่กล่าวนั้นเป็นจริงคือนินทา แต่ถ้าไม่จริงก็เป็นการใส่ร้าย”
فتضمَّنت هذه النُّصوص كلُّها أنَّ المسلمَ لا يحِلُّ إيصالُ الأذى إليه بوجهٍ مِنَ الوجوهِ من قولٍ أو فعلٍ بغير حقٍّ ، وقد قال الله تعالى :  وَالَّذِينَ يُؤْذُونَ الْمُؤْمِنِينَ وَالْمُؤْمِنَاتِ بِغَيْرِ مَا اكْتَسَبُوا فَقَدِ احْتَمَلُوا بُهْتَاناً وَإِثْماً مُبِيناً  ( ) .
1.07.17 ตัวบทต่างๆที่อธิบายหะดีษทั้งต้นนี้ สรุปว่า มุสลิมไม่อนุญาตให้ทำร้ายพี่น้องมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นคำพูด การกระทำ โดยปราศจากสิทธิ อัลลอฮฺได้ตรัสว่า 33:58 และบรรดาผู้ทำร้ายแก่บรรดาผู้ศรัทธาชายและบรรดาผู้ศรัทธาหญิงโดยไม่มีสาเหตุ แน่นอนพวกเขาได้แบกบาปและความชั่วที่ใหญ่หลวง
وإنَّما جعلَ اللهُ المؤمنين إخوةً ليتعاطفوا ويتراحموا ، وفي " الصحيحين " ( ) عن النعمان بن بشير ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( مَثَلُ المؤمنين في توادِّهم وتراحُمِهم وتعاطُفهم ، مَثَلُ الجسدِ ، إذا اشتكي منه عضوٌ ، تداعى له سائرُ الجسد بالحمَّى والسَّهر )) .
“อุปมาบรรดามุอฺมินด้วยกันในด้านความรักความเมตตาความสงสารซึ่งกันและกัน อุปมัยดังสรีระร่างกายเดียวกัน ส่วนหนึ่งของร่างกายที่เจ็บปวด ส่วนอื่นก็เจ็บปวดไปด้วย”
وفي رواية لمسلم ( ) : (( المؤمنون كرجلٍ واحدٍ ، إنِ اشتكى رأسه تداعى له سائر الجسد بالحمى والسهر )) .
“มุอฺมินนั้นเปรียบเสมือนคนเดียว ถ้าปวดหัว ส่วนอื่นของร่างกายก็จะป่วยไปด้วย” 1.11.02 
وفي رواية له أيضاً ( ) : (( المسلمون كرجلٍ واحد إنِ اشتكى عينُه ، اشتكى كلُّه ، وإنِ اشتكى رأسُه ، اشتكى كلُّه )) .
“บรรดามุสลิมีนเปรียบเสมือนชายคนหนึ่ง ถ้าเจ็บตา ส่วนอื่นก็เจ็บด้วย ถ้าปวดหัวส่วนอื่นก็ปวดไปด้วย”
وفيهما ( ) عن أبي موسى ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( المؤمن للمؤمن كالبُنيان ، يشدُّ بعضُه بعضاً )) .
“มุอฺมินกับมุอฺมินเสมือนเป็นอาคารเดียวกัน ทุกส่วนของอาคารจะยึดกัน(ทำให้อาคารเข้มแข็ง)”
وخرَّج أبو داود ( ) من حديث أبي هُريرة ، عن النَّبيِّ ، قال : (( المؤمن مرآةُ المؤمنِ ، المؤمنُ أخو المؤمنِ ، يكفُّ عنه ضيعتَه ، ويحوطُه من ورائِه )) . وخرَّجه الترمذي 
“มุอฺมินกับมุอฺมินเปรียบเสมือนกระจกส่องกัน, มุอฺมินเป็นพี่น้องกัน, มีอะไรที่เขาเดือดร้อน(หลุดหายไป)พี่น้องมุอฺมินก็จะช่วยปกป้อง และคอยอยู่เบื้องหลังช่วยเหลือเขา”
( ) ، ولفظه : (( إنَّ أحدَكُم مرآةُ أخيه ، فإنْ رأى به أذى ، فليُمطه عنه )) .
“คนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่าน เสมือนเป็นกระจกส่องให้พี่น้องของเขา ถ้าเห็นคนอื่นถูกทำร้าย(หรือมีอันตราย)ก็จงช่วยเหลือเขา”
 
قال رجل لعمر بن عبد العزيز : اجعل كبيرَ المسلمين عندَك أباً ، وصغيرهم ابناً ، وأوسَطَهم أخاً ، فأيُّ أولئك تُحبُّ أنْ تُسيء إليه ( ) ؟ ومن كلام يحيى بن معاذ الرازي : ليكن حظُّ المؤمن منك ثلاثة : إنْ لم تنفعه ، فلا تضرَّه ، وإنْ لم تُفرحه ، فلا تَغُمَّه ، وإنْ لم تمدحه فلا تَذُمَّه .
ชายคนหนึ่งมาบอกกับ อุมัร อิบนุอับดิลอะซีซว่า “ผู้ใหญ่ในบรรดามุสลิมีนให้ถือว่าเป็นพ่อ เด็กตัวน้อยเสมือนเป็นลูก คนอายุปานกลาง(รุ่นเดียวกัน)ถือเป็นพี่น้องกัน แล้วใครในหมู่มุสลิมจะทำร้ายกัน”//