ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 185 (หะดีษที่ 35/7 มุสลิมเป็นพี่น้องกัน ตักวาอยู่ที่นี่)

Submitted by admin on Thu, 06/11/2014 - 23:57
หัวข้อเรื่อง
"..จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง",
การอธรรม(อัซซุลมฺ),
ตะกับบุร(ยโส),
ลักษณะชาวสวรรค์-ชาวนรก,
อัลบะรออฺ อิบนุมาลิก
สถานที่
มุศ็อลลา White Channel
วันที่บรรยาย
14 มุฮัรรอม 1436
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
23.10 mb
ความยาว
97.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

วีดีโอ

الحديث الخامس والثلاثون 
 
عَنْ أَبي هُريرةَ رضي الله عنه ، قالَ : قالَ رسول الله صلى الله عليه وسلم  : (( لا تَحَاسَدُوا ، ولا تَنَاجَشوا ، ولا تَبَاغَضُوا ، ولا تَدَابَرُوا ، ولا يَبِعْ بَعضُكُمْ على بَيعِ بَعضٍ ، وكُونُوا عِبادَ اللهِ إِخْواناً ، المُسلِمُ أَخُو المُسلم ، لا يَظلِمُهُ ولا يَخذُلُهُ ، ولا يَكذِبُهُ ، ولا يَحقِرُهُ ، التَّقوى هاهُنا )) ، - ويُشيرُ إلى صدرِهِ ثلاثَ مرَّاتٍ - (( بِحَسْبِ امرئٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يَحقِرَ أخَاهُ المُسلِمَ ، كُلُّ المُسلمِ على المُسلِمِ حرامٌ : دَمُهُ ومَالُهُ وعِرضُهُ )) . رواه مسلم .
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ท่านทั้งหลายอย่าได้อิจฉาริษยากันและกัน อย่าแย่งผลประโยชน์กัน อย่าโกรธกัน อย่าหันหลังให้แก่กัน  อย่าซื้อขายโดยหักหลังซึ่งกันและกัน(ตัดหน้า) จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง – เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา”
หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
 
 
وأيضاً ، فإنَّ الأخ مِنْ شأنه أنْ يوصِلَ إلى أخيه النَّفع ، ويكفَّ عنه الضَّرر ، ومن أعظم الضرِّ الذي يجبُ كفُّه عَنِ الأَخِ المسلم الظُّلم ، وهذا لا يختصُّ بالمسلم ، بل هو محرَّمٌ في حقِّ كلِّ أحَدٍ ، وقد سبق الكلام على الظُّلم مستوفى عندَ ذكر حديث أبي ذرِّ الإلهي : (( يا عبادي إنِّي حرَّمتُ الظُّلم على نفسي ، وجعلته بينكم محرَّماً ، فلا تظالموا )) ( ) .
กิจการของพี่น้องที่ต้องทำซึ่งกันและกันคือเอาประโยชน์ไปให้พี่น้อง, ระงับการทำร้ายคนอื่น, ความเสียหายที่ต้องระงับมากที่สุดคือ ซุลุ่ม(อธรรม) มารยาทในการระงับอธรรมไม่ใช่เฉพาะมุสลิมเท่านั้น การอธรรมผู้อื่นเป็นสิ่งที่หะรอมสำหรับทุกคน(ไม่ว่ามุสลิมหรือกาฟิร) เคยอธิบาย “ซุลุ่ม”แล้วในหะดีษของอบูซัร (หะดีษกุดซียฺ) คือ “โอ้บ่าวของข้า ข้าได้ถือว่าซุหลุ่ม(อธรรม)นั้นเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับข้า และข้าได้ทำให้ซุหลุ่มนั้นเป็นที่ต้องห้ามสำหรับพวกเจ้าเช่นกัน ดังนั้นพวกเจ้าทั้งหลายอย่าซุหลุ่มกัน” ...หะดีษที่ 24
 
ومِنْ ذلك : خِذلانُ المسلم لأخيه ، فإنَّ المؤمن مأمورٌ أنْ يَنصُرَ أخاه ، كما قال  : (( انصُر أخاك ظالماً أو مظلوماً )) ، قال : يا رسولَ الله ، أنصُرُهُ مَظلوماً ، فكيف أنصره ظالماً ؟ قال : (( تمنعه عنِ الظُّلم ، فذلك نصرُك إيَّاه )) . خرَّجه البخاري ( ) بمعناه من حديث أنس ، وخرَّجه مسلم ( ) بمعناه من حديث جابر .
ส่วนหนึ่งของ “การอธรรม(ซุหลุ่ม)” คือ การทอดทิ้งพี่น้องมุสลิม ไม่ช่วยเหลือในโอกาสที่สามารถช่วยเหลือได้, เห็นว่าเขาถูกอธรรม และมีความช่วยเหลือเขาได้ แต่ไม่ช่วย มุอฺมินถูกใช้ให้ช่วยเหลือพี่น้อง ดังที่ท่านนบีบอกไว้ว่า “ จงช่วยเหลือพี่น้องไม่ว่าเขาจะเป็นผู้อธรรมหรือถูกอธรรม” เศาะฮาบะฮฺถามว่า “โอ้นบีครับ เราช่วยเหลือผู้ถูกอธรรม แต่สำหรับผู้อธรรมจะช่วยอย่างไร”
ท่านนบีตอบว่า “ถ้าเป็นผู้อธรรม ก็ให้ระงับ(ขัดขวาง)เขา นี่คือการช่วยเหลือเขา"
 
وخرَّج أبو داود ( ) من حديث أبي طلحة الأنصاري وجابرِ بن عبد الله ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( ما مِن امرئٍ مسلمٍ يخذُلُ امرأً مسلماً في موضع تُنتَهكُ فيه حرمتُه ، ويُنتقصُ فيه من عِرضه ، إلاّ خذله الله في موطنٍ يُحبُّ فيه نُصرتَه ، وما مِن امرئٍ ينصرُ مسلماً في موضع يُنتقصُ فيه من عِرضِه ، ويُنتهكُ فيه من حرمته ، إلاّ نصره الله في موضع يحبُّ فيه نصرَتَه)) .
 
وخرّج الإمام أحمد ( ) من حديث أبي أمامة بن سهل ، عن أبيه ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( مَنْ أُذِلَّ عنده مؤمنٌ ، فلم ينصُرْه وهو يقدِرُ على أن ينصُرَه ، أذلَّه الله على رؤوس الخلائق يوم القيامة )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ผู้ใดที่มุอฺมินถูกข่มเหงต่อหน้าเขา แล้วไม่ได้ช่วยเหลือ ทั้งๆที่สามารถช่วยได้ วันกิยามะฮฺก็จะถูกข่มเหง(รังแก)ต่อหน้าประชาชาติ”
 
وخرَّج البزار ( ) من حديث عِمران بن حُصين ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( مَنْ نَصرَ أخاه بالغيب وهو يستطيعُ نصرَه ، نَصَرَهُ الله في الدُّنيا والآخرة )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “ใครที่ช่วยเหลือพี่น้องเขาลับหลัง ในขณะที่เขาสามารถช่วยเหลือได้ อัลลอฮฺจะช่วยเหลือเขาในวันกิยามะฮฺ”
 
ومن ذلك : كذِبُ المسلم لأخيه ، فلا يَحِلُّ له أن يُحدِّثه فيكذبه ، بل لا يُحدِّثه إلاَّ صدقاً ، وفي " مسند الإمام أحمد " ( ) عن النَّوَّاس بن سمعان ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( كَبُرَت خِيانةً أن تُحدِّثَ أخاكَ حديثاً هو لك مصدِّقٌ وأنت به كاذب )) .
หนึ่งในซุหลุ่มที่ไม่ควรกระทำกับพี่น้องมุสลิมคือ การโกหก 
หะดีษ “ช่างทรยศเหลือเกิน คนที่พูดคุยกับพี่น้องในเรื่องหนึ่งเรื่องใด พี่น้องเขาเชื่อเขา แต่เขานั้นโกหก”
 
ومن ذلك : احتقارُ المسلم لأخيه المسلم ، وهو ناشئٌ عن الكِبْرِ ، كما قال النَّبيُّ  : (( الكِبْرُ بَطَرُ الحقِّ وغَمْطُ الناس )) خرَّجه مسلم ( ) 
15- หนึ่งในการอธรรมคือ การดูถูกพี่น้องมุสลิม ไม่ให้เกียรติกัน ซึ่งมันเกิดจากตะกับบุร ดังที่ท่านนบีกล่าวว่า “ความยโสนั้นคือ ปฏิเสธความจริง และดูถูกผู้คน”
من حديث ابن مسعود ، وخرَّجه الإمام أحمد ( ) ، وفي رواية له : (( الكبرُ سَفَهُ الحقِّ ، وازدراءُ الناس )) ، وفي رواية : (( وغمص الناس )) ( ) ، وفي رواية زيادة : (( فلا يَراهم شيئاً )) وغمص النَّاس : الطَّعنُ عليهم وازدراؤهم ( ) ،
“ตะกับบุรคือไม่จริงใจกับความจริง และดูถูกผู้คน” อีกรายงานหนึ่ง “ไม่ให้เกียรติเขา” อีกสายรายงานหนึ่ง “มองเห็นชาวบ้านเสมือนว่าไม่มีเลย”
 
 وقال الله  :  يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا لا يَسْخَرْ قَوْمٌ مِنْ قَوْمٍ عَسَى أَنْ يَكُونُوا خَيْراً مِنْهُمْ وَلا نِسَاءٌ مِنْ نِسَاءٍ عَسَى أَنْ يَكُنَّ خَيْراً مِنْهُنّ ( ) ،
49:11 โอ้ศรัทธาชนทั้งหลาย! ชนกลุ่มหนึ่งอย่าได้เยาะเย้ยชนอีกกลุ่มหนึ่ง บางทีชนกลุ่มที่ถูกเยาะเย้ยนั้นจะดีกว่าชนกลุ่มที่เยาะเย้ย และสตรีกลุ่มหนึ่งอย่าได้เยาะเย้ยจะดีกว่ากลุ่มที่เยาะเย้ย
 
 فالمتكبر ينظرُ إلى نفسه بعين الكمال ، وإلى غيره بعين النَّقصِ ، فيحتقرهم ويزدريهم ، ولا يراهم أهلاً لأنْ يقومَ بحقُوقهم ، ولا أن يقبلَ مِنْ أحد منهم الحقَّ إذا أورده عليه .
 
وقوله  : (( التَّقوى هاهنا )) يشير إلى صدره ثلاثَ مرَّاتٍ : فيه إشارةٌ إلى أنَّ كرم الخَلْق عند الله بالتَّقوى ، فربَّ من يحقِرُه الناس لضعفه ، وقلَّةِ حظِّه من الدُّنيا ، وهو أعظمُ قدراً عند الله تعالى ممَّن له قدرٌ في الدُّنيا ، ،
“ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง
เกียรติของมนุษย์ ณ อัลลอฮฺอยู่ที่ตักวา บางคนอ่อนแอ ยากจน แต่ ณ อัลลอฮฺถือว่าเป็นคนใหญ่โตกว่าคนที่ใหญ่โตในโลกดุนยานี้
ท่านนบีกล่าวว่า “บางคนยากจนเสื้อผ้าเปื้อนฝุ่นตลอด ผมยุ่ง ไปเคาะประตูบ้านใคร ก็ไม่มีใครเปิดประตูให้ แต่เมื่อเขายกมือ(ขอดุอาอฺ)ประตูฟ้าทุกชั้นจะเปิดถึงอัลลอฮฺ สาบานต่ออัลลอฮฺ ว่าอัลลอฮฺต้องตอบรับดุอาอฺของเขา”
فإنَّ الناسَ إنّما يتفاوتُون بحسب التَّقوى كما قال الله تعالى :  إِنَّ أَكْرَمَكُمْ عِنْدَ اللهِ أَتْقَاكُمْ  ( ) ،
คนจะต่างกันด้วยตักวา (ไม่ใช่เงินทองหรือตำแหน่ง) คนที่มีเกียรติ ณ อัลลอฮิมากที่สุด คือคนที่มีตักวามากที่สุด ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า “แท้จริงผู้ที่มีเกียรติยิ่งในหมู่พวกเจ้า ณ ที่อัลลอฮ.นั้น คือผู้ที่มีความยำเกรงยิ่งในหมู่พวกเจ้า” (49:13)
 
 وسئل النَّبيُّ  : مَنْ أكرمُ الناسِ ؟ قال : (( أتقاهُم لله  )) ( ) . 
นบีเคยถูกถามว่า “ใครที่มีเกียรติมากที่สุด?” นบีตอบว่า “คนที่มีตักวาต่ออัลลอฮฺมากที่สุด” 
وفي حديث آخر : (( الكرمُ التَّقوى )) ( ) ، والتَّقوى أصلُها في القلب ، كما قال تعالى :  وَمَنْ يُعَظِّمْ شَعَائِرَ اللهِ فَإِنَّهَا مِنْ تَقْوَى الْقُلُوبِ  ( ) .
หะดีษอีกบทหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า “เกียรตินั้นคือตักวา”
ตักวานั้นอยู่ที่หัวใจ ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า 
22:32 ฉะนั้น ผู้ใดที่ให้เกียรติแก่พระบัญญัติของอัลลอฮ์ แท้จริงมันเป็นส่วนหนึ่งแห่งการยำเกรงของจิตใจ
 
 وقد سبق ذكر هذا المعنى في الكلام على حديث أبي ذرٍّ الإلهي عند قوله : (( لو أنَّ أوَّلكم وآخرَكم وإنسَكُم وجنَّكُم كانوا على أتقى قلبِ رجلٍ واحد منكم ، ما زاد ذلك في مُلكي شيئاً )) ( ) .
وإذا كان أصلُ التَّقوى في القُلوب ، فلا يطَّلعُ أحدٌ على حقيقتها إلا الله  ، كما قال  : (( إنَّ الله لا ينظرُ إلى صُورِكُم وأموالِكم ، ولكن ينظرُ إلى قلوبكم وأعمالكم )) ( ) 
وحينئذ ، فقد يكونُ كثيرٌ ممَّن له صورةٌ حسنةٌ ، أو مالٌ ، أو جاهٌ ، أو رياسةٌ في الدنيا ، قلبه خراباً من التقوى ، ويكون من ليس له شيء من ذلك قلبُه مملوءاً مِنَ التَّقوى ،
 فيكون أكرمَ عند الله تعالى ، بل ذلك هو الأكثر وقوعاً ،
كما في " الصحيحين " ( ) عن حارثةَ بن وهبٍ ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( ألا أُخبِرُكم بأهل الجنَّةِ : كلُّ ضعيف متضعَّفٍ ، لو أقسم على الله لأبرَّهُ ، ألا أخبركم بأهل النَّارِ : كلُّ عُتُلٍّ جَوَّاظٍ مُستكبِرٍ )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “อยากรู้มั้ยชาวสวรรค์คือใคร?” 
“คนที่อ่อนแอมาก แสดงท่าว่าอ่อนแอ” “เมื่อเขาสาบานขอต่ออัลลอฮฺ(ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง) อัลลอฮฺจะให้เขา” 
“อยากรู้มั้ยชาวนรกเป็นอย่างไร ?” "คือคนยโส ตอแหล ดูถูกคนอื่น "
 
وفي " المسند " ( ) عن أنس عن النَّبيِّ  ، قال : (( أمَّا أهلُ الجنَّة ، فكلُّ ضعيفٍ متضعَّفٍ ، أشعث ، ذي طِمرين ، لو أقسمَ على الله لأبرَّه ؛ وأمَّا أهلُ النَّارِ ، فكلُّ جَعْظَريٍّ جَوَّاظ جمَّاعٍ ، منَّاعٍ ، ذي تَبَع )) .
ท่านนบีกล่าวว่า “สำหรับชาวสวรรค์นั้นคือ คนอ่อนแอ แสดงความอ่อนแอ, ผมยุ่ง, เสื้อสองชิ้น, หากเขาสาบานขอต่ออัลลอฮฺ อัลลอฮฺก็จะให้แน่นอน”
“สำหรับชาวนรกนั้นคือ คนที่ลามก พูดจาไม่ไพเราะ, แสดงความแข็งแกร่ง(แต่ตนเองอ่อนแอ), สะสมทรัพย์, ตระหนี่ต่อภารกิจในสังคม, พรรคพวกเยอะ”
 

 

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
WCimage
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 185 (หะดีษที่ 35/7 มุสลิมเป็นพี่น้องกัน ตักวาอยู่ที่นี่)