หัวข้อเรื่อง
"จงอย่าอิจฉาริษยากัน", 2 กรณีที่อิจฉาได้,
อิจฉาเขา จะแก้อย่างไร?, เปลี่ยนอิจฉาเป็นความรัก;
-“จงอย่าแย่งผลประโยชน์กัน(อย่าหลอกลวง),
- จงอย่าโกรธ(เกลียดชัง)กัน”
อิจฉาเขา จะแก้อย่างไร?, เปลี่ยนอิจฉาเป็นความรัก;
-“จงอย่าแย่งผลประโยชน์กัน(อย่าหลอกลวง),
- จงอย่าโกรธ(เกลียดชัง)กัน”
สถานที่
มุศ็อลลา White channel
วันที่บรรยาย
24 ซุลเก๊าะดะฮฺ 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
20.00 mb
ความยาว
113.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
คลิ้กเพื่อรับฟัง/ดาวน์โหลด (คลิ้กขวา บันทึกเป็น.../Save as...)
วีดีโอ
รายละเอียด
วีดีโอ
الحديث الخامس والثلاثون
عَنْ أَبي هُريرةَ رضي الله عنه ، قالَ : قالَ رسول الله صلى الله عليه وسلم : (( لا تَحَاسَدُوا ، ولا تَنَاجَشوا ، ولا تَبَاغَضُوا ، ولا تَدَابَرُوا ، ولا يَبِعْ بَعضُكُمْ على بَيعِ بَعضٍ ، وكُونُوا عِبادَ اللهِ إِخْواناً ، المُسلِمُ أَخُو المُسلم ، لا يَظلِمُهُ ولا يَخذُلُهُ ، ولا يَكذِبُهُ ، ولا يَحقِرُهُ ، التَّقوى هاهُنا )) ، - ويُشيرُ إلى صدرِهِ ثلاثَ مرَّاتٍ - (( بِحَسْبِ امرئٍ مِنَ الشَّرِّ أنْ يَحقِرَ أخَاهُ المُسلِمَ ، كُلُّ المُسلمِ على المُسلِمِ حرامٌ : دَمُهُ ومَالُهُ وعِرضُهُ )) . رواه مسلم .
จากอบูฮุร็อยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า
“ท่านทั้งหลายอย่าได้อิจฉาริษยากันและกัน อย่าแย่งผลประโยชน์กัน อย่าโกรธกัน อย่าหันหลังให้แก่กัน อย่าซื้อขายโดยหักหลังซึ่งกันและกัน(ตัดหน้า) จงเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเป็นพี่น้องกัน มุสลิมกับมุสลิมเป็นพี่น้องกัน จะไม่อธรรมกัน จะไม่ทิ้งกัน และจะไม่โกหกกัน และจะไม่ดูถูกกัน “ตักวาอยู่ที่นี่” – ท่านนบีชี้ไปที่อก(หัวใจ)ของท่านและกล่าว 3 ครั้ง – เป็นความเลวเพียงพอแล้ว คนที่ดูถูกพี่น้องมุสลิม มุสลิมต่อมุสลิมทั้งหมดเป็นที่ต้องห้ามละเมิดเป็นอันขาด ได้แก่ เลือด(ทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต), ทรัพย์สมบัติของเขา และเกียรติของเขา” หะดีษนี้บันทึกโดยมุสลิม
قالَ رسول الله صلى الله عليه وسلم : (( لا تَحَاسَدُوا - "จงอย่าอิจฉาริษยากัน"
وقسم آخر إذا حسد لم يتمنَّ زوال نعمة المحسود ، بل يسعى في اكتساب مثل فضائله ، ويتمنَّى أنْ يكونَ مثله ، فإن كانتِ الفضائلُ دنيويَّةً ، فلا خيرَ في ذلك ، كما قال الَّذينَ يُريدُونَ الحياةَ الدُّنيا : يَا لَيْتَ لَنَا مِثْلَ مَا أُوتِيَ قَارُونُ ( ) ،
وإنْ كانت فضائلَ دينيَّةً ، فهو حسن ، وقد تمنَّى النَّبيُّ الشَّهادة في سبيل الله . وفي " الصحيحين " ( ) عنه ، قال : (( لا حسدَ إلاَّ في اثنتين : رجلٌ آتاه اللهُ مالاً ، فهو يُنفقه آناء الليل وآناء النَّهار ، ورجلٌ آتاهُ اللهُ القرآن ، فهو يقومُ به آناء اللَّيل وآناءَ النَّهار )) ، وهذا هو الغبطة ، وسماه حسداً من باب الاستعارة .
ท่านนบีกล่าวว่า “ไม่มีอนุญาตให้อิจฉา(หะสัด) ยกเว้นใน 2 กรณี คือชายคนหนึ่งที่อัลลอฮฺให้เขามีทรัพย์สินมากมาย เขาก็บริจาคทั้งกลางวันและกลางคืน,
(อัลลอฮฺยกย่องในอัลกุรอาน ผู้ศรัทธาที่บริจาคทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งโดยลับและเปิดเผย ซึ่งเป็นการงานที่ทำได้ยาก)
และชายคนหนึ่งอัลลอฮฺให้เขา(ท่องจำ)กุรอาน เขาก็ยืนละหมาดและอ่านกุรอานทั้งกลางวันและกลางคืน”
กรณีนี้ในภาษอาหรับไม่เรียกว่า “หะสัด” แต่เรียกว่า “ฆิบเฏาะฮฺ” คืออยากได้เหมือนคนนู้นที่เขามี แต่นบีเรียกว่า “หะสัด” เป็นการยืมคำศัพท์เพื่อให้คนเข้าใจ
وقسم آخر إذا وجدَ من نفسه الحسدَ سعى في إزالته ، وفي الإحسان إلى المحسود بإسداءِ الإحسان إليه ، والدُّعاء له ، ونشر فضائله ، وفي إزالة ما وَجَدَ له في نفسه مِنَ الحسدِ حتّى يبدلَه بمحبَّة أنْ يكونَ أخوه المسلمُ خيراً منه وأفضلَ ، وهذا مِنْ أعلى درجات الإيمان ، وصاحبه هو المؤمنُ الكاملُ الذي يُحبُّ لأخيه ما يحبُّ
لنفسه ، وقد سبق الكلام على هذا في تفسير حديث : (( لا يؤمن أحدكم حتى يحب لأخيه ما يحب لنفسه )) ( ) .
จากอบูฮัมซะฮฺ (อะนัส บินมาลิก) เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ผู้รับใช้ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า “การศรัทธาของคนหนึ่ง ๆ ไม่สมบูรณ์ จนกว่าเขาจะรักให้พี่น้องของเขา (มุสลิมด้วยกัน) ได้รับเช่นเดียวกับที่ตัวของเขาเองรักที่ได้รับ” หะดีษนี้บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม ...[ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม หะดีษที่ 13]
وقوله : (( ولا تناجَشوا )) : “จงอย่าแย่งผลประโยชน์กัน”
فسَّره كثيرٌ من العلماء بالنَّجْشِ ( ) في البيع ، وهو : أن يزيدَ في السِّلعة من لا يُريدُ شِراءها ( ) ، إمَّا لنفع البائع بزيادةِ الثَّمن له ، أو بإضرارِ المشتري بتكثير الثمن عليه ، وفي " الصحيحين " ( ) عن ابنِ عمرَ ، عن النَّبيِّ أنَّه نهى عن النَّجش .
ท่านนบีห้าม “อันนัจญชฺ”
وقال ابن أبي أوفى : النَّاجش : آكلُ ربا خائنٌ ، ذكره البخاري ( ) .
สะลัฟบอกว่า อันนาญิชุ – การต่อราคาเพิ่มโดยไม่มีเจตนาซื้อสินค้า เปรียบเสมือนคนกินดอกเบี้ย คนทรยศ(คออิน)
قال ابنُ عبد البرِّ : أجمعوا أنَّ فاعلَه عاصٍ لله إذا كان بالنَّهي عالماً ( ) .
อับดุลบัรกล่าวว่า มีอิจญฺมาอฺว่าคนที่ทำเช่นนี้ถือว่าเป็นคนฝ่าฝืน(ทำบาป) หากเขาทำโดยรู้ว่ามันเป็นเรื่องที่ไม่ดี
การซื้อของที่ถูกเพิ่มราคาตามกรณีข้างต้น ใช้ได้มั้ย มีสิทธิ์ยกเลิกมั้ย
واختلفوا في البيع ، فمنهم من قال : إنَّه فاسدٌ ، وهو روايةٌ عن أحمد ( ) ، اختارها طائفةٌ من أصحابه ، ومنهم من قال : إنْ كان الناجشُ هو البائعَ ، أو من واطأه البائع على النَّجش فسد ؛ لأنَّ النَّهيَ هُنا يعودُ إلى العاقدِ نفسِه ، وإنْ لم يكن كذلك ، لم يفسُد ، لأنَّه يعودُ إلى أجنبيٍّ . وكذا حُكِي عَنِ الشَّافعيِّ أنَّه علَّل صحة البيع بأنَّ البائعَ غيرُ النَّاجش ( ) ، وأكثرُ الفقهاء على أنَّ البيعَ صحيحٌ مطلقاً وهو قولُ أبي حنيفة ومالكٍ والشَّافعيِّ وأحمد في رواية عنه ، إلاَّ أنَّ مالكاً وأحمد أثبتا للمشتري الخيارَ إذا لم يعلم بالحال ( ) ، وغُبِنَ غَبناً فاحشاً يخرج عن العادة ، وقدَّره مالكٌ وبعضُ أصحاب أحمد بثلث الثَّمنِ ، فإن اختارَ المشتري حينئذٍ الفسخَ ، فله ذلك ، وإن أراد الإمساكَ ، فإنَّه يحطُّ ما غُبِنَ به من الثَّمن ، ذكره أصحابنا .
واختلفوا في البيع ، فمنهم من قال : إنَّه فاسدٌ ، وهو روايةٌ عن أحمد ( ) ، اختارها طائفةٌ من أصحابه ، ومنهم من قال : إنْ كان الناجشُ هو البائعَ ، أو من واطأه البائع على النَّجش فسد ؛ لأنَّ النَّهيَ هُنا يعودُ إلى العاقدِ نفسِه ، وإنْ لم يكن كذلك ، لم يفسُد ، لأنَّه يعودُ إلى أجنبيٍّ . وكذا حُكِي عَنِ الشَّافعيِّ أنَّه علَّل صحة البيع بأنَّ البائعَ غيرُ النَّاجش ( ) ، وأكثرُ الفقهاء على أنَّ البيعَ صحيحٌ مطلقاً وهو قولُ أبي حنيفة ومالكٍ والشَّافعيِّ وأحمد في رواية عنه ، إلاَّ أنَّ مالكاً وأحمد أثبتا للمشتري الخيارَ إذا لم يعلم بالحال ( ) ، وغُبِنَ غَبناً فاحشاً يخرج عن العادة ، وقدَّره مالكٌ وبعضُ أصحاب أحمد بثلث الثَّمنِ ، فإن اختارَ المشتري حينئذٍ الفسخَ ، فله ذلك ، وإن أراد الإمساكَ ، فإنَّه يحطُّ ما غُبِنَ به من الثَّمن ، ذكره أصحابنا .
ويحتمل أن يُفسَّرَ التَّناجُشُ المنهيُ عنه في هذا الحديث بما هو أعمُّ من ذلك ، فإنَّ أصلَ النَّجش في اللُّغة : إثارةُ الشَّيءِ بالمكرِ والحيلةِ والمخادعةِ ، ومنه سُمِّي النَّاجِشُ في البيع ناجشاً ، ويسمّى الصَّائدُ في اللغة ناجشاً ( ) ،
อันนัจญชฺ – กระตุ้นสิ่งหนึ่งสิ่งใดด้วยความเฉลียว อุบาย หลอกลวง
นาญิช - คนที่ซื้อขายแบบหลอกลวงแบบนี้
ดุอาอฺจากท่านนบี
رَحِمَ اللَّهُ عَبْدًا سَمْحًا إِذَا بَاعَ سَمْحًا إِذَا اشْتَرَى سَمْحًا إِذَا اقْتَضَى))
رَحِمَ اللَّهُ عَبْدًا سَمْحًا إِذَا بَاعَ سَمْحًا إِذَا اشْتَرَى سَمْحًا إِذَا اقْتَضَى))
อัลลอฮฺได้โปรดเมตตาบ่วของพระองค์ที่มีความอ่อนโยน(นอบน้อม) เมื่อเขาขาย เมือเขาซื้อ และเมื่อทวงสิทธิ์(เกี่ยวกับการค้าขาย)
لأنَّه يُثير الصَّيد بحيلته عليه ، وخِداعِه له ، وحينئذٍ ، فيكونُ المعنى : لا تتخادَعوا ، ولا يُعامِلْ بعضُكُم بعضاً بالمكرِ والاحتيال . وإنَّما يُرادُ بالمكر والمخادعة إيصالُ الأذى إلى المسلم : إمَّا بطريقِ الأصالة ، وإما اجتلاب نفعه بذلك ، ويلزم منه وصولُ الضَّرر إليه ، ودخولُه عليه ، وقد قال الله : وَلا يَحِيقُ الْمَكْرُ السَّيِّئُ إِلاَّ بِأَهْلِهِ ( ) .
وفي حديث ابن مسعودٍ عنِ النَّبيِّ : (( مَنْ غَشَّنا فليس منَّا ، والمكرُ والخِداعُ في النار )) ( )
ใครที่หลอกลวงเรา ไม่ใช่พวกเรา การวางอุบายและการหลอกลวง อยู่ในนรก"
. وقد ذكرنا فيما تقدَّم حديث أبي بكر الصدِّيق المرفوع : (( ملعونٌ من ضارَّ مسلماً أو مكرَ به )) خرَّجه الترمذيُّ ( ) .
“เป็นผู้ที่ถูกสาปแช่งแล้ว คนที่ส่งให้เกิดความเสียหายกับพี่น้องมุสลิม หรือวางยา(หลอกลวง)พี่น้องมุสลิม”
فيدخل على هذا التقدير في التناجش المنهي عنه جميعُ أنواع المعاملات بالغشِّ
ونحوه ، كتدليس العيوب ، وكِتمانها ، وغشِّ المبيع الجيد بالرديء ، وغَبْنِ المسترسل الذي لا يَعرِفُ المماكسة ، وقد وصف الله تعالى في كتابه الكفَّار والمنافقين بالمكر بالأنبياء وأتباعهم ،
ถ้าแปล “ลาตะนาญะชู” ว่า อย่าหลอกลวงกัน” (ลาตะคอดะอู) ก็จะเข้าข่ายนี้ทั้งหมด ทุกสัญญาหรือพฤติกรรมที่หลอกลวงกันเช่น
- ปกปิดข้อตำหนิของสินค้า
- ปนของดีกับของเลว แล้วไม่บอกว่ามีของไม่ดีอยู่
- หลอกคนซื่อ
อัลลอฮฺได้ให้ฉายาผู้ปฏิเสธสัญญาและมุนาฟิกว่า เป็นผู้ที่วางอุบายแก่บรรดานบีและเราะซูล
وما أحسنَ قول أبي العتاهية :
لَيس دُنيا إلاَّ بدينٍ ولَيْـ ـسَ الدِّين إلاَّ مَكارمُ الأخْلاقِ
إنَّما المَكْرُ والخَديعَةُ في النَّارِ هُمَا مِنْ خِصالِ أهْلِ النِّفاقِ
อบุลอะตาฮิยะฮฺ - ดุนยาไม่มีค่าถ้าไม่มีศาสนา และศาสนาไม่มีค่า ถ้าไม่มีจริยธรรม
แท้จริงการหลอกลวง(วางอุบาย)นั้นอยู่ในนรก ซึ่งมันเป็นลักษณะของผู้สัปปลับ(กลับกลอก)
وإنَّما يجوزُ المكرُ بمن يجوزُ إدخالُ الأذى عليه ، وهم الكفَّارُ المحاربون ، كما قال النَّبيُّ : (( الحربُ خدعةٌ )) ( ) .
وقوله : (( ولا تَباغضوا )
) : نهى المسلمين عَنِ التَّباغض بينهم في غير الله ، بل على أهواءِ النُّفوسِ ، فإنَّ المسلمينَ جعلهمُ الله إخوةً ، والإخوةُ يتحابُّونَ بينهم ، ولا يتباغضون ،
“จงอย่าโกรธ(เกลียดชัง)กัน”
وقال النَّبيُّ : (( والذي نفسي بيده ، لا تدخُلُوا الجنَّة حتى تؤمنوا ، ولا تؤمنوا حتَّى تحابُّوا ، ألا أدلُّكم على شيءٍ إذا فعلمتموه تحاببتم ؟ أفشوا السَّلام بينكم )) خرَّجه مسلم ( ) .
“สาบานด้วยพระนามของอัลลอฮฺ พวกท่านจะไม่เข้าสวรรค์ จนกว่าจะศรัทธา และจะไม่ศรัทธาจนกว่าจะรักใคร่กัน จะให้ฉันบอกพวกท่านมั้ย อะไรที่ปฏิบัติแล้วจะทำให้พวกท่านรักกัน ? จงแพร่สลามซึ่งกันและกันอย่างกว้างขวาง
وقد ذكرنا فيما تقدَّم أحاديثَ في النَّهي عن التَّباغُض والتَّحاسد .
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
- Printer-friendly version
- Log in to post comments
- 321 views
WCimage