ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 175 (หะดีษที่ 33/3)

Submitted by admin on Fri, 15/08/2014 - 00:20
หัวข้อเรื่อง
"...พยานหลักฐานเป็นหน้าที่ของผู้อ้าง(ผู้ร้องเรียน) และสาบานเป็นหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหา", มารยาทของผู้รู้ในการรายงานหะดีษ,
สถานที่
มัสยิด มูลนิธิสันติชน
วันที่บรรยาย
19 เชาวาล 1435
วันที่บรรยาย
วันที่อัพ
ขนาดไฟล์
21.50 mb
ความยาว
90.00 นาที
มีวีดีโอ
มี
รายละเอียด

الحَدِيثُ الثَّالِثُ وَالثَّلاَ ثُونَ 
 
عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ رضي اللهُ عنهُمَا : أَنَّ رسولَ الله صلى الله عليه وسلم قَالَ : 
(( لَوْ يُعْطَى النَّاسُ بِدَعْوَاهُمْ لادَّعَى رِجَالٌ أَمْوَالَ قَوْمٍ  وَدِمَاءَ هُمْ  ؛  لَكِنِ الْـبَيِّنَةُ عَلَى الْمُدَّعِي ، وَالْيَمِينُ عَلَى مَنْ أَنْكَرَ )). 
حديث حسَنٌ، رَوَاهُ الْبَيْهَقِيُّ وَغَيْرُهُ هَكَذَا ، وَبَعْضُهُ فِي الصَّحِيْحَيْنِ .
รายงานจากอิบนุอับบาส ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา (อับดุลลอฮฺและอับบาส เป็นเศาะฮาบะฮฺทั้งคู่) ว่า
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
"ถ้าผู้คนได้รับตามคำเรียกร้อง ก็จะมักง่ายสำหรับหลายคนที่จะเรียกร้องสิทธิด้านทรัพย์สิน หรือสิทธิในการ(ตอบโต้)ละเมิดชีวิตด้วยเพียงข้ออ้าง,
แต่ทว่าผู้อ้างต้องมีหลักฐาน(บัยยินะฮฺ; คือพยาน, มุอัดดิล-ผู้รับรองพยาน)
กรณีที่ไม่หลักฐาน(หรือหลักฐานอ่อนหรือพยานขาดคุณสมบัติ,หรือผู้ถูกกล่าวปฏิเสธ) ให้ผู้ถูกกล่าวหาสาบาน(ว่าข้อกล่าวหานี้เป็นเท็จ)"
 

วีดีโอ

وخرَّجاه ( ) أيضاً من رواية نافع بنِ عمر الجمحي ، عن ابن أبي مُليكة ، عن ابن عباس : أنَّ النَّبيَّ  قضى أنَّ اليمين على المدَّعى عليه .
นบีพิพากษาแล้ว นบีจะให้ผู้ถูกกล่าวหานั้นสาบาน 
 
واللفظ الذي ساقه به الشيخ ساقه ابنُ الصَّلاح قبله في الأحاديث الكليات ، وقال : رواه البيهقي ( ) بإسناد حسن .
สำนวนนี้เป็นสำนวนเดียวกับ อิบนุศเศาะลาหฺ ในหนังสือ อัลอะฮาดีษุลกุลลียาต (หะดีษที่มีความหมายรัดกุม) 
وخرَّجه الإسماعيلي في " صحيحه " ( ) من رواية الوليد بن مسلم ، حدثنا ابنُ جريج ، عن ابن أبي مليكة ، عن ابن عباس : أنَّ النَّبيَّ  ، قال : (( لو يُعطى الناسُ بدعواهم ، لادَّعى رجالٌ دماءَ رجالٍ وأموالهم ، ولكنَّ البيِّنةَ على الطَّالب ، واليمين على المطلوب )) .
17.0
الإسماعيلي – อัลอิสมาอิลี เป็นอุละมาอฺท่านหนึ่งในศตวรรษที่ 5 มีหนังสือเล่มหนึ่งที่รวบรวมหะดีษของอิมามมุสลิม 4000 หะดีษ (เกือบหมื่นสายราย) ด้วยสายรายงานคนละสายกับอิมามมุสลิม เพื่อยืนยันว่าหะดีษของท่านนบีถูกรายงานไปทั่วโลก ทุกยุคทุกสมัย ไม่มีการเตี๊ยมกัน ตอบโต้ผู้ที่มีข้อสงสัยต่อหะดีษของท่านนบี
- สายรายงานอีกสายหนึ่ง อัลวะลีด บินมุสลิม จากอิบนุญุร็อยจฺ จากอบีมุลัยกะฮฺ จากอิบนุอับบาส ท่านนนบีกล่าวว่า...
ฏอลิบ – ขอ, คนที่มาขอความรู้
 
وروى الشَّافعي ( ) : أخبرنا مسلم بن خالد ، عن ابن جريج ، عن ابن أبي مُليكة ، عن ابن عباس : أنَّ رسولَ الله  قال : (( البينة على المُدَّعي )) قال  الشافعي ( ) : وأحسبه - ولا أُثبته - أنَّه قال : (( واليمين على المُدَّعى عليه )) .
23.0 อิมามชาฟิอี ไม่มีหนังสือหะดีษโดยเฉพาะ เพราะท่านมุ่งเขียนหนังสือฟิกฮฺ แต่มัซหับอื่นมีหมด ลูกศิษย์ท่านจึงรวบรวมหะดีษที่อิมามชาฟิอีรายงานไว้ใน 1 เล่ม (เรียกว่ามุสนัด) โดยเรียบเรียงตามชื่อเศาะฮาบะฮฺที่รายงานหะดีษ 
วิธีเรียบเรียงแบบ “มุสนัด” คือ เรียบตามชื่อเศาะฮาบะฮฺที่เป็นหัวหะดีษ ตั้งแต่ คุละฟาอฺรอชิดีน 4 ท่าน,  10 ท่านที่นบีบอกว่าเป็นชาวสวรรค์, ชาวบัดร, ชาวอุฮุด (ตามลำดับ)
มุสนัด – แปลว่า ถูกรายงาน
อิมามชาฟิอีได้รายงานว่า ..,... ท่านนบีกล่าวว่า “พยานหลักฐานเป็นหน้าที่ของผู้อ้าง(ผู้ร้องเรียน) , และสาบานเป็นหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหา “ ท่อนสุดท้าย อิมามชาฟิอีจำไม่ได้
- ยะหฺยา อิบนุมะอีน ตำรวจหะดีษ ตระเวนตรวจสอบหะดีษทั่วโลก ท่านได้รับมรดกล้านดีนาร และได้ใช้ไปในการตรวจสอบหะดีษ
 
وروى محمد بن عمر بن لُبابة الفقيه الأندلسيُّ ، عن عثمان بن أيوب الأندلسيِّ - ووصفه بالفضل - ، عن غازي بن قيس ، عن ابن أبي مُليكة ، عن ابن عباس ، عن النَّبيِّ  فذكر هذا الحديث ، وقال : (( لكن البينة على منِ ادَّعى ، واليمين على من أنكر )) وغازي بن قيس الأندلسي كبيرٌ صالح ، سمع من مالكٍ وابن جريج وطبقتِهما ، وسقط من هذا الإسناد ابنُ جريج ، والله أعلم .
41.0  อีกสายรายงานหนึ่งที่ต่างจากข้างต้น 
 
وقد استدلَّ الإمام أحمد وأبو عبيد بأنّ النَّبيَّقال : (( البيِّنة على المدعي واليمين على من أنكر )) ، وهذا يدلُّ على أنَّ اللفظ عندهما صحيحٌ محتجٌّ به ، وفي المعنى أحاديث كثيرة ، ففي " الصحيحين " ( )
- สำนวนนี้เศาะฮี้ฮฺ
 
 عن الأشعث بن قيس ، قال : كان بيني وبين رجلٍ خصومةٌ في بئرٍ ، فاختصمنا إلى رسولِ الله  ، فقال رسولُ الله  : (( شاهداك أو يمينه )) ، قلت : إذاً يحلِفُ ولا يُبالي ، فقال رسولُ الله  : (( من حلف على يمينٍ يستحقُّ بها مالاً هو فيها فاجرٌ ، لَقِي الله وهو عليه غضبان )) ، فأنزل الله تصديقَ ذلك ، ثم اقترأ هذه الآية :  إِنَّ الَّذِينَ يَشْتَرُونَ بِعَهْدِ اللهِ وَأَيْمَانِهِمْ ثَمَناً قَلِيلاً ( ) وفي رواية لمسلم بعد قوله : (( إذاً يحلفُ )) قال : (( ليس لك إلاّ ذلك )) . 
44.0 อิมามอะหมัดและอิมามอบูอุบัยดะฮฺ
ชายสองคนขัดแย้งกันเรื่องบ่อน้ำ และมาร้องเรียนท่านนบี ให้ท่านนบีตัดสิน
47 ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า 
"ผู้ใดสาบานคำสาบานหนึ่ง โดยคำสาบานนี้เรียกร้องสิทธิด้านทรัพย์สิน โดยเขารู้ว่าเขาสาบานเท็จ(ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น) เขาจะไปพบอัลลอฮฺ(วันกิยามะฮฺ) โดยที่พระองค์โกรธกริ้วเขา
 
 
وخرَّجه أيضاً مسلم ( ) بمعناه من حديث وائلِ بنِ حجر عن النَّبيِّ  . 
وخرَّج الترمذي ( ) من حديث العَرْزَمي عن عمرو بن شعيب ، عن أبيه ، عن جَدِّهِ ، أنَّ النَّبيَّ  ، قال في خطبته : (( البيِّنةُ على المدَّعي ، واليمينُ على المُدَّعى عليه )) ، وقال : في إسناده مقال ، والعَرْزَميُّ يضعف في الحديث من قبل حفظه .
“พยานหลักฐานเป็นหน้าที่ของผู้อ้าง และคำสาบานเป็นหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหา”
العَرْزَميُّ- ความจำไม่ค่อยดี หะดีษที่เขารายงานนั้นอ่อนแอ
 
 وخرَّج الدارقطني ( ) من رواية مسلم بن خالد الزنجي - وفيه ضعف - ، عن ابن جريج ، عن عمرو بن شعيب ، عن أبيه ، عن جدِّه ، عن النَّبيِّ  ، قال : (( البيِّنة على المدَّعي ، واليمين على من أنكر ، إلاَّ في القسامة )) . ورواه الحفاظ ( ) عن ابن جريج ، عن عمرو مرسلاً .
 
 
icon4